การผลิตสารแซนโทฟิลจากดอกดาวเรืองเพื่ออุตสาหกรรม = industrial production of xanthophyll from marigolds / Pongtep Antarikanonda...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Antarikanonda, Pongtep | Bhanthumnavin, Nataporn | Kosurat, Jaruwan | Puttanasupongse, Anchana | Saepholmuang, Sumalee | Sassanarakkit, Suriya | Sinsawat, Sayam | แสนพลเมือง, สุมาลี | โควสุรันต์, จารุวรรณ | อัญชนา พัฒนสุพงษ์ | ณัฐพร พันธุมนาวิน | สุริยา สาสนรักกิจ | สยาม สินสวัสดิ์ | พงศ์เทพ อันตะริกานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Office of Project Management
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 37-09 Rep. no.1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1997 รายละเอียดตัวเล่ม: 44 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตสารแซนโทฟิลจากดอกดาวเรืองเพื่ออุตสาหกรรมหัวเรื่อง: Animal feeding | Extraction | Feeds | Marigolds | Xanthophyllสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The study of method for xanthophyll extraction from marigold petals was carried out. The crude extract obtained was used as chicken feed supplement to increase the color of egg yolk. There were five experiments in this study. It was found that the orange-color marigold accumulated highest amount of xanthophyll in the petals comparing to the yellow-color marigold or the sunflower. The most suitable solvent for the extraction of xanthophyll from dried marigold petals was hexane (comparing to acetone, methanol, petroleum ether). The quantitative analysis of Total Xanthophylls was achieved via the AOAC standard method. It was proved that the steam treatment to the petals, for three minutes prior to oven-drying at 80 degree celsius, helped prevent the loss of xanthophyll during drying period. The preservation of crude extract was also tested and it was shown that stability of the crude extract can be maintained for six months at room temperature, under nitrogen atmosphere in the dark without the addition of antioxidant. Most of all, when 1-2 mg of crude extract was mixed with 1 kg of chicken feed, with low amount of xanthophyll, the color of egg yolk was brighter. Authorsสาระสังเขป: ทำการศึกษาวิธีการสกัดสารแซนโทฟิลจากกลีบดอกดาวเรือง และนำสารสีที่สกัดได้ไปเสริมในอาหารของไก่ไข่ เพื่อเพิ่มสีไข่แดง. การศึกษาแบ่งออกเป็น 5 การทดลอง. ผลการทดลองพบว่าดอกดาวเรืองพันธุ์สีส้มมีปริมาณแซนโทฟิลสะสมในกลีบดอกมากที่สุด เมื่อเทียบกับดอกดาวเรืองพันธุ์สีเหลือง และดอกทานตะวัน, และเฮกเซนเป็นตัวทะละลายที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการสกัดเอาสารแซนโทฟิลออกจากกลีบดอกดาวเรืองแห้งเมื่อเทียบกับอะซีโตน, เมทานอล และปิโตรเลียม อีเทอร์. การวิเคราะห์หาปริมาณแซนโทฟิลรวมสามารถทำได้ตามวิธีมาตรฐานการวิเคราะห์ AOAC (AOAC 1984). สำหรับการรักษาเสถียรภาพของแซนโทฟิลในกลีบดอกดาวเรืองนั้นพบว่าการอบกลีบดอกสดด้วยไอน้ำ เป็นเวลา 3 นาที ก่อนนำไปอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส จะช่วยป้องกันการสูญเสียปริมาณแซนโทฟิลระหว่างการอบแห้งได้. ส่วนสารสกัดจากกลีบดอกดาวเรือง (crude) ที่เก็บภายใต้บรรยากาศของก๊าซไนโตรเจนและอยู่ใสภาวะมืดจะมีเสถียรภาพได้ตลอดระยะเวลา 6 เดือน ที่อุณหภูมิห้อง โดยไม่ต้องเติม antioxidant และเมื่อนำสารสกัดแซนโทฟิลปริมาณ 1-2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เสริมเข้าไปในอาหารของไก่ไข่สูตรที่มีเปอร์เซ็นต์แซนโทฟิลต่ำ พบว่าสามารถนำให้ไข่แดงมีสีเข้มขึ้นได้. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1997/1007
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1997/1007-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300