การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ โดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีแบบผสมผสาน = increased yield and cost reduction of Khaw Dok Mai rice production by using combination of biofertilizer with organic and chemical fertilizers / Pongtep Antarikanonda...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Antarikanonda, Pongtep | Photisawat, Phathan | Sinsawat, Sayam | Visutthipat, Rachain | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สยาม สินสวัสดิ์ | พงศ์เทพ อันตะริกานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-13 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2002 รายละเอียดตัวเล่ม: 46 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ โดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีแบบผสมผสานหัวเรื่อง: Biofertilizers | Chemical fertilizers | Khaw Dok Mari rice | Organic fertilizers | Pathum Thani | Rice | Rice production | Surinสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Khaw Dok Mali rice cultivation under two different soil types, Rangsit and Surin, was experimernted under greenhouse condition to evaluate vegetative growth and economic yield. The experiment was also carried out under field condition at Surin and Pathum Thani Provinces where different soil types existed (Rangsit and Surin soil types) to evaluate the sustainable yield increments of the employment of 13 different combination mixtures of biofertilizer, organic, and chemical fertilizers (biofertilizer-organic-chemical) at the srate kg/rai. Such treatments were : 1) 0-0-0; 2) 0-0-25; 3) 0-0-50; 4) 0-20-0; 5) 0-20-25; 6) 0-20-25; 7) 500-0-0; 8) 500-0-25; 9) 500-0-25; 10) 500-20-25; 11) 500-20-50; 12) 250-20-25; 13) 500-20-0. Significant increase of yield increments occurred in response to different treatments under greenhouse condition. The vegetative growth and yield increment seemed to be highest in Treatment 10 (500-20-25 kg/rai) on Rangsit soil type while Treatment 10 (500-20-25 kg/rai) gave the highest response in Surin soil type.สาระสังเขป: Under field condition, Khaw Dok Mali rice showed the highest yield with Treatments 10, 11 and 12 when grown under experimental field condition at Surin Province and had yield increases of 815.2, 760.1 and 700.7 kg/rai, respectively. However, high yields observed in Treatments 10, 11 and 12 when grown in Pathum Thani Province were 1,020.11, 1,005.76 and 790.16 kg/rai respectively. The result showed that Treatment 10 (500-20-25) could increase rice yield production in Pathum Thani and Surin Provinces. Using such combination fertilizers also provided cost reduction in rice production by 30 to 40 percent in capital investment. - Authors.สาระสังเขป: การทดลองใช้ปุ๋ยอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมีแบบผสมผสาน (ปุ๋ยอินทรีย์-ปุ๋ยชีวภาพปุ๋ยเคมี) ในอัตราส่วน กก./ไร่ ที่แตกต่างกัน 13 วิธี ได้แก่ 1)0-0-0; 2) 0-0-25;3) 0-0-50; 4) 0-20-0; 5) 0-20-25; 6) 0-20-50; 7) 500-0-0; 8) 500-0-25; 9) 500-0-50; 10) 500-20-25; 11) 500-20-50; 12) 250-20-25 และ 13) 500-20-0 กับข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกในดินชุดรังสิต และดินชุดสุรินทร์ ในเรือนทดลองและในแปลงทดลองในพื้นที่ 2 จังหวัด คือ สุรินทร์ และปทุมธานี, ปรากฏว่าสามารถเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตของข้าวแตกต่างกัน.สาระสังเขป: การปลูกข้าวในดินชุดรังสิตในสภาพเรือนทดลอง สามารถตอบสนองการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตสูงที่สุดกับปุ๋ยผสมกรรมวิธีที่ 10 (500-20-25 กก./ไร่), ส่วนข้าวที่ปลูกในดินชุดสุรินทร์ กับการใช้ปุ๋ยผสมกรรมวิธีที่ 10 (500-20-25 กก./ไร่) สามารถเจริญเติบโตได้ดีและได้ผลผลิตสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ปุ๋ยผสมโดยวิธีอื่น. ขณะที่ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในแปลงทดลองในพื้นที่ 2 จังหวัด ปุ๋ยผสมกรรมวิธีที่ 10, 11 และ 12 สามารถให้ปริมาณผลผลิตมากที่สุด คือ 815.2, 760.1 และ 700.7 กก./ไร่ ตามลำดับ ในแปลงทดลองปลูกของพื้นที่ปลูกจังหวัดสุรินทร์. ขณะที่แปลงทดลองในพื้นที่ปลูกจังหวัดปทุมธานี ปุ๋ยผสมกรรมวิธี 10, 11 และ 12 สามารถให้ปริมาณผลผลิตสูงที่สุด คือ 1,020.00, 1,005.76 และ 790.16 กก./ไร่ ตามลำดับ. จากผลดังกล่าวพบว่าปุ๋ยกรรมวิธีที่ 10 (500-20-25 กก./ไร่) สามารถใช้ได้กับพื้นที่ปลูกทั้งสองแห่ง, และเมื่อเปรียบเทียบถึงต้นทุนการผลิต การใช้ปุ๋ยแบบผสมผสานสามารถให้ต้นทุนเฉลี่ยที่ลดลงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวถึง 30-40%.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-12 1 RP2002/1189
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2002/1189-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300