Improvement on post-harvest handling and storage of horticultural crops : Varietal susceptibilities of mango to Botryodiplodia theobromae Pat. and chemical changes during pathogenesis = พันธุ์มะม่วงที่อ่อนแอต่อเชื้อรา Botryodiplodia theobromae Pat. และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขณะที่เกิดโรค / Sing Ching Tongdee, Sirichai Kanlayanarat, Sutep Poonsawud

โดย: Tongdee, Sing Ching
ผู้แต่งร่วม: Kanlayanarat, Sirichai | Poonsawat, Sutep | กัลยาณรัตน์, ศิริชัย | ซิง ชิง ทองดี | สุเทพ พูนสวัสดิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Agricultural Products Development Division=Food Industry Department> Post-harvest Technology Lab
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 24-01 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1980 รายละเอียดตัวเล่ม: 20 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Varietal susceptibilities of mango to Botryodiplodia theobromae Pat. and chemical changes during pathogenesis | พันธุ์มะม่วงที่อ่อนแอต่อเชื้อรา Botryodiplodia theobromae Pat. และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขณะที่เกิดโรคหัวเรื่อง: Botryodiplodia theobromae | Handling losses | Mango | Postharvest control | Stem-end rot | Storage lossesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: In association with normal ripening, there was an increase in sucrose and total soluble solids together with a decrease in acidity. In the diseased fruits, there was a very significant increase in reducing sugars at the expense of starch presented in mature-green fruits and at the expense of soucrose in fruits inoculated at turn stage when initial sucrose concentration was high. The difference in varietal susceptibility was shown at early disease development when pathogen was inoculated on mature-green fruits, but not when inoculated on turn stage fruits. Nang Klangwan, one of the best keeping varieties, showed distinct differences in peel thickness, firmness, as well as chemical composition during ripening and changes during pathogenesis. - Authors.สาระสังเขป: Investigations into the varietal susceptibilities of mango to Botryodiplodia theobromae, and chemical changes during pathogenesis in association with Botryodiplodia stem-end rot development were done to examine chemical composition of four major commercial varieties, Nam Dokmai, Nang Klangwan, Ok Rong, and Phimsen.สาระสังเขป: ในการตรวจสอบคุณสมบัติความต้านทานของผลมะม่วง 4 พันธุ์ คือ น้ำดอกไม้, หนังกลางวัน, อกร่อง และพิมเสน ต่อการทำลายของโรคเชื้อรา Botryodiplodia theobromae โดยได้วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในผลมะม่วงระหว่างที่ได้รับการติดเชื้อประกอบไปด้วยนั้น พบว่า ในผลมะม่วงที่มีการเจริญเติบโตและสุกตามปกติ จะมีปริมาณน้ำตาล (Sucrose) และปริมาณของสารเคมีส่วนที่ละลายได้ (Total soluble solids) เพิ่มขึ้นในขณะเดียวกับที่ปริมาณความเป็นกรดจะลดน้อยลง แต่ในผลมะม่วงที่ได้รับการติดเชื้อพบว่า ปริมาณของน้ำตาลที่สลายตัว (Reducing sugars) จะเพิ่มขึ้นโดยในที่นี้จะมาจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณแป้งในผลมะม่วงดิบ หรืออีกอย่างหนึ่งคือมาจากปริมาณน้ำตาลซึ่งมีอยู่มากในตอนแรกของผลมะม่วงสุก และจะเปลี่ยนแปลงไปถ้าหากมะม่วงได้รับการติดเชื้อในระยะนั้น.สาระสังเขป: คุณสมบัติความต้านทานของมะม่วงแต่ละพันธุ์ต่อเชื้อรานี้จะแสดงความแตกต่างให้เห็นได้ชัดเจนในระยะที่เชื้อโรคเริ่มเจริญเติบโต คือถ้าให้มีการติดเชื้อ (Inoculate) กับผลมะม่วงที่ยังดิบ ซึ่งความแตกต่างนี้จะไม่แสดงให้เห็น ถ้าการติดเชื้อเกิดขึ้นในระยะที่ผลสุกแล้ว มะม่วงพันธุ์หนังกลางวันซึ่งเป็นพันธุ์ที่สามารถเก็บรักษาได้ดีมากพันธุ์หนึ่ง สามารถจะแสดงความแตกต่างให้เห็นได้อย่างชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับพันธุ์อื่น.- ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1980/579
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1980/579-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300