ผลผลิตของวัวที่เลี้ยงในทุ่งหญ้าในสวนมะพร้าว = grazing trial on improved pasture under coconuts / Prapandh Boonklinkajorn, Soonthorn Duriyaprapan, Siriphong Pattanavibul

โดย: Boonklinkajorn, Prapandh
ผู้แต่งร่วม: Duriyaprapan, Soonthorn | Pattanavibul, Siriphong | สุนทร ดุริยะประพันธ์ | ประพันธ์ บุญกลิ่นขจร | ศิริพงษ์ พัฒนวิบูลย์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agricultural Research Division
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 20-15 Rep. no. 12ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1982 รายละเอียดตัวเล่ม: 11 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ผลผลิตของวัวที่เลี้ยงในทุ่งหญ้าในสวนมะพร้าวหัวเรื่อง: Brachiaria brizantha | Cattle | Centrosema pubescens | Fodder crops | Grasses | Grazing | Pasturesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A study on liveweight gain of Thai Indigenous-Brahman crossbreds grazed on Signal grass (Brachiaria brizantha)+Centro (Centrosema pubescens) and native grass + Centro pastures under coconuts was carried out in Lamae district, Chumphon Province from August 1978 - September 1980. There was neither a statistical significance in the weight gain of 79.0, 71.0 and 74.5 kg/animal of female cattle in the first year nor between 108.8, 78.0 and 38.8 kg/animal of male cattle in the following year under stocking rates of respectively 1.0, 1.5 and 2.5 animal/ha on improved pasture. The lowest stocking rate of 1.0 animal/ha grazed on native pasture gained 44 kg/animal in the second year experiment.สาระสังเขป: An evaluation on pasture yield revelaed that different grazing pressures employed in this study did not affect herbage dry matter yield. However, pasture yield tended to decline in the second year. Authors.สาระสังเขป: การทดลองเลี้ยงวัวในสวนมะพร้าวที่กิ่งอำเภอละแม จังหวัดชุมพร ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2521 ถึงเดือนกันยายน 2523 ในแปลงหญ้าซิกแบลต้นตั้ง (Brachiaria brizantha) ผสมถั่วลาย (Centrosema pubescens) และแปลงหญ้าพื้นเมืองผสมถั่วลาย โดยใช้วัวลูกผสมพันธุ์พื้นเมืองกับพันธุ์อเมริกันบราห์มันเพศเมียในปีที่ 1 และเพศผู้ในปีที่ 2 พบว่า การเพิ่มน้ำหนักวัวในแปลงหญ้าซิกแบลต้นตั้ง เมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่า 79.0, 71.0 และ 74.5 กก./ตัว ในปีที่ 1 และ 108.8, 78.0 และ 38.3 กก./ตัว ในปีที่ 2 เมื่ออัตราส่วนของจำนวนวัวต่อพื้นที่เป็น 0.16, 0.24 และ 0.40 ตัว/ไร่ ตามลำดับ. น้ำหนักวัวชุดที่สองในแปลงหญ้าพื้นเมืองเมื่อเลี้ยงในอัตราต่ำที่สุดคือ 0.16 ตัว/ไร่ เพิ่มขึ้น 44 กก./ตัว, น้ำหนักวัวในแปลงหญ้าซิกแนลต้นตั้งทั้งสามอัตราที่เพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกันทางสถิติ.สาระสังเขป: การศึกษาทางด้านพืชอาหารสัตว์ พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติในน้ำหนักแห้งต่อหน่วย พื้นที่ของพืชอาหารสัตว์ในแปลงหญ้าซิกแนลต้นตั้งทั้งสามอัตรา. ผลผลิตพืชอาหารสัตว์ทั้งหมดมีแนวโน้มลดลงในปีที่ 2. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1982/607
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1982/607-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300