การศึกษาปัญหาสาหร่ายผลิตสารพิษในแหล่งน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาในหน่วยทหาร = a study on problem on toxicogenic cyanobacterial blooms in water sources for water supply in military bases / Aparat Mahakhant ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunpairojana, Vullapa | Chumchat, Patiyut | Hemsrt, Santi | Hirunrussamee, Jittima | Limpanussorn, Jakkrapong | Mahakhant, Aparat | Phatvej, Wipaporn | Ratanachot, Pannarat | Sematong, Tuanta | Settachan, Prangchai | Silarak, Sukanya | Thongpum, Vira | Tungthananuwat, Mayuree | ปรางฉาย เศรษฐจันทร | เตือนตา เสมาทอง | สันติ เหมศรี | ชุ่มชาติ, ปติยุทธ | มยุรี ตั้งธนานุวัฒน์ | วิระ ทองพุ่ม | วิภาพร พัฒน์เวช | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | พรรณรัตน์ รัตนโชติ | จักรพงษ์ ลิมปนุสสรณ์ | ศิลารักษ์, สุกัญญา | หิรัญรัศมี, จิตติมา | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-10 ; Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001. รายละเอียดตัวเล่ม: 46 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในเแหล่งน้ำจืดและแนวทางแก้ไข : 3 การศึกษาปัญหาสาหร่ายผลิตสารพิษในแหล่งน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาในหน่วยทหารหัวเรื่อง: Aphanothece stagnina | Blue-green algae | Cyanobacterial blooms | Cylindrospermopsis raciborskii | Lyngbya sp | Microcystis aeruginosa | Nakhon Si Thammarat | Saraburi | Toxicity | Water resourcesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The project aims to investigate the rapid growth of toxicogenic cyanobacterial blooms in water sources used for water supply in various military bases (particularly where consumption water is self-supplied) in order to evaluate the problems status and health hazard of military personnel.สาระสังเขป: The study covers the survey and collection of raw water in different water sources which is used to produce consumption water. 52 raw water samples were collected from water sources in military bases i.e. 9 samples from 5 bases in the 1st Army Area ; 11 samples from 6 bases in the 2nd Army Area; 14 samples from 5 bases in the 3rd Army Area; and 9 samples from 2 bases in the Education Division. The result of chemical analysis showed that, according to Quality Standards of Surface Water (National Board of Environment 1994), the quality of investigated water as identified by its utilization purposes could be classified in Types 2-3 which were the sources that wastewater of some activities were discharged into but the water could be used for consumption after being treated by germicidal method and passing improvement process for quality water. Considering nutrient concentrate, physical, chemical, and biological properties of water as well as the trophic type of micro algae (Wetzel 1983), the surveyed water sources possessed mesotrophic to eutrophic nutrients with medium average pH at 7.0.สาระสังเขป: The study on rapid growth problem of toxicogenic cyanobacterial blooms in these water sources showed that the growth rate was low and appeared no toxicogenic microalgae in the future. Although 2 species of blue-green algae causing toxicity to liver, Microcystis aeruginosa and/or Cylindrospermopsis raciborskii, were found in 17 water sources (out of 52), it indicated no serious effect since the raw water for water supply in these military bases was obtained from small receiving ponds of frequent circulation. The survey showed that high growth rate of cyanobacterial blooms was significantly found in the dam which was the water source but only small number or none was found in the ponds. Moreover, the long distance of water flow from the source to the ponds also obstructed the growth of toxicogenic microalgae due to friction of stream causing colony-cell destruction.สาระสังเขป: Toxicity analysis was conducted with the samples of benthic algae which were reported of toxicity in foreign research and densely found in 2 water sources : Aphanothece stagnina at the 4th Cavalry Regiment, Saraburi province and Lyngbya sp. at Thepsatri-Sisunthon Camp, Nakhon Si Thammarat province. Toxicity tests showed that, those 2 species gave slight irritation to eyes. - Authors.Review: โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการสำรวจปัญหาการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำดิบที่นำมาผลิตน้ำประปาในหน่วยทหาร (เฉพาะหน่วยที่ทำการผลิตน้ำประปาใช้เอง) เพื่อประเมินถึงสถานภาพของปัญหาและความเสี่ยงต่อสุขภาพของกำลังพล.Review: ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างแหล่งน้ำที่ใช้ผลิตน้ำประปาในหน่วยทหารรวมทั้งแหล่งต้นน้ำของแหล่งน้ำดังกล่าวทั้งสิ้นจำนวน 52 ตัวอย่าง, แบ่งเป็น แหล่งน้ำในพื้นที่กองทัพภาคที่ 1 รวม 5 หน่วย จำนวน 9 ตัวอย่าง, กองทัพภาคที่ 2 รวม 6 หน่วย จำนวน 11 ตัวอย่าง, กองทัพภาคที่ 3 รวม 5 หน่วย จำนวน 14 ตัวอย่าง, กองทัพภาคที่ 4 รวม 5 หน่วย จำนวน 9 ตัวอย่าง และหน่วยส่วนการศึกษา รวม 2 หน่วย จำนวน 9 ตัวอย่าง. ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมีโดยรวม พบว่าเมื่อทำการจัดประเภทคุณภาพน้ำตามการใช้ประโยชน์ โดยใช้ค่ามาตรฐานคุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน (คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2537) แหล่งน้ำดิบที่ศึกษาส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภท 2-3 ซึ่งได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน. เมื่อพิจารณาการจัดชั้นน้ำตามระดับปริมาณความเข้มข้นของธาตุอาหาร, คุณสมบัติน้ำทางกายภาพ, เคมี และชีวภาพบางประการรวมทั้งกลุ่มสาหร่ายที่พบเป็นชนิดเด่น (trophic type) (Wetzel 1983), โดยรวมแล้วพบว่าแหล่งน้ำที่ศึกษาอยู่ในระดับที่มีปริมาณธาตุอาหารปานกลาง (mesotrophic) ถึงมีธาตุอาหารสูง (eutrophic) โดยมีค่าเฉลี่ยความเป็นกรด-ด่าง (pH) ในระดับกลาง (7.0).Review: การศึกษาความเป็นพิษของตัวอย่างสาหร่ายหน้าดิน (benthic algae) ที่เจริญเติบโตอย่างหนาแน่นในแหล่งน้ำ 2 แห่ง ได้แก่ สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว Aphanothece stagnina จากกรม ทหารม้าที่ 4 จ. สระบุรี และ Lyngbya sp. จากค่ายเทพสตรีศรีสุนทร จ. นครศรีธรรมราช ผลการทดสอบความเป็นพิษ พบว่า สาหร่ายทั้งสองชนิดก่ออาการระคายเคืองเบื้องต้นต่อดวงตาเล็กน้อย. - ผู้แต่ง.Review: การสำรวจปัญหาการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำในภาพรวม พบว่าสภาพปัญหาอยู่ในระดับต่ำ และไม่มีแนวโน้มว่าจะเกิดปัญหาการเจริญเติบโตของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำดิบในอนาคต. แม้จะพบว่ามีสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวที่ผลิต สารพิษต่อตับ 2 ชนิดคือ Microcystis aeruginosa และ/หรือ Cylindrospermopsis raciborskii ในแหล่งน้ำ 17 แห่ง (จากแหล่งสำรวจ 52 แห่ง). ทั้งนี้เนื่องจากแหล่งน้ำดิบในหน่วยทหารส่วนใหญ่เป็นสระพักน้ำขนาดเล็ก มีอัตราการเปลี่ยนถ่ายน้ำสูง. แม้พบว่าต้นน้ำดิบที่มาจากเขื่อนมีการเจริญเติบโตของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษ แต่เมื่อสำรวจในสระพักน้ำแล้วพบว่า สาหร่ายชนิดที่ผลิตสารพิษที่พบจะมีปริมาณน้อยกว่าหรือไม่พบเลย. ทั้งนี้เพราะนอกจากอัตราการเปลี่ยนถ่ายน้ำที่สูงแล้ว ระยะทางไกลในการเคลื่อนที่จากแหล่งต้นน้ำสู่สระพักน้ำในสภาพน้ำไหลเป็นสภาพที่ไม่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายในกลุ่มที่ผลิตสารพิษ เนื่องจากมีแรงเสียดทานจากกระแสน้ำ ทำให้เกิดการแตกตัวของเซลล์สาหร่าย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2001/1163
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2001/1163-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300