การผลิตถ่านโค้กและถ่านหุงต้มจากพีทขั้นโรงงานต้นแบบ = a study of pilot scale production of peat coke and peat briquet / Energy Technology Department

โดย: Thailand Institute of Scientific and Technological Research Energy Technology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. 30-13 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1992 รายละเอียดตัวเล่ม: 62 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตถ่านโค้กและถ่านหุงต้มจากพีทขั้นโรงงานต้นแบบหัวเรื่อง: Fuels | Narathiwat | Peat | Peat briquet | Peat coke | Pru-Bachoสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A pilot plant of peat coke and peat briquet production with retort capacity of 1,000 kilograms per batch had been designed and constructed at the Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok. The objective to the project was to carry out the research and development on the production of peat coke and peat briquet, both technical and economic feasibility.สาระสังเขป: The result revealed that peat from Pru-Bacho, Narathiwat Province was suitable for producing high quality peat coke and peat briquet, due to its low ash and high fixed carbon content. However the economic study indicated that the production cost of peat briquet and peat coke was 22.50 baht per kilograms and 43.50 baht per kilograms, which were not feasible at present. The recommendation of technical improvement and some remarks on peat utilization as fuel were also proposed in this report. Authorสาระสังเขป: โรงงานต้นแบบผลิตพีทโค้กและถ่านหุงต้มจากพีท ขนาดเตาคาร์โบไนซ์ ครั้งละ 1,000 กิโลกรัม ได้จัดสร้างขึ้นในบริเวณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิจัย ทดลอง และพัฒนากระบวนการผลิต ตลอดจนความเหมาะสมเบื้องต้นด้านเทคนิค และเศรษฐศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูลใช้ในการส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่การผลิตขั้นอุตสาหกรรม.สาระสังเขป: ผลการศึกษาเบื้องต้นด้านเศรษฐศาสตร์ของระบบ พบว่าต้นทุนการผลิตถ่านหุงต้มจากพีทและพีทโค้กยังค่อนข้างสูงคือ 22.50 และ 43.50 บาทต่อกิโลกรัม ตามลำดับ การปรับปรุงเพื่อช่วยลดต้นทุนส่วนหนึ่งคือ การปรับปรุงเตาคาร์โบไนซ์ และใช้น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาด้านเทคนิคยืนยันว่าพีท จังหวัดนราธิวาส สามารถแปรรูปใช้เป็นเชื้อเพลิงคุณภาพดีทัดเทียมถ่านไม้และถ่านโค้ก แต่เนื่องจากพีทเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้แล้วหมด เช่น ถ่านหิน จึงน่าจะได้พิจารณาในรายละเอียดของผลกระทบอีกครั้ง. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: ผลการศึกษาวิจัยด้านเทคนิค ชี้ให้เห็นว่า พีทในบริเวณพรุบาเจาะ จังหวัดนราธิวาสของไทย มีคุณสมบัติเหมาะสมในการแปรรูปใช้เป็นเชื้อเพลิง คือ มีปริมาณเถ้าต่ำและถ่านคงตัวสูง เมื่อผ่านกระบวนการคาร์โบโนเซชัน จะให้ผลผลิตถ่านพีทที่สามารถอัดเป็นก้อน ใช้เป็นถ่านหุงต้มในครัวเรือน และทำเป็นพีทโค้กที่มีปริมาณถ่านคงตัวร้อยละ 69.5 และ 81.9 ตามลำดับ ซึ่งทั้งสองชนิดมีคุณภาพดี ทัดเทียมถ่านไม้และถ่านโค้กทั่วไป.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1992/902
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1992/902-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300