การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เชื้อจุลินทรีย์หรือกรดอินทรีย์เพื่อการผลิตการิ = feasibility study of using microorganisms or organic acids for gari production / Suparp Artjariyasripong, Prapaisri Somchai, Ginganok Ganokkao

โดย: Artjariyasripong, Suparp
ผู้แต่งร่วม: Ganokkao, Ginganok | Somchai, Praphaisri | กนกแก้ว, กิ่งกนก | ประไพศรี สมใจ | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 31-10/subproj. no.2 Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1995 รายละเอียดตัวเล่ม: 21 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เชื้อจุลินทรีย์หรือกรดอินทรีย์เพื่อการผลิตการิหัวเรื่อง: Acetic acid | Bacteria | Cassava | Cassava starch | Cyanides | Fermentation | Gari | Hydrocyanic tonic substance | Lactic acid | Microorganismsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: This study was aimed to reduce hydrocyanic toxic substance in ground cassava by using microorganisms or organic acids such as lactic acid and acetic acid. In the primary experiment, microorganisms associated in fermentation of ground cassava were isolated at various fermentation times. The dominant microorganisms were gram-positive bacteria with coccus shape, having starch hydrolyzing ability and acid formation. Few yeasts were found. From 75 bacterial isolates, the microorganism No.11 was selected as the best bacteria which could produce 1.1 percent acid. In the secondary experiment, ground cassava was inoculated with microorganism No.11. Two alternative treatments with lactic acid and acetic acid were compared by adjusting pH of ground cassava to 3.8. The cyanide residue was assayed. It was found that lactic acid could reduce cyanide content at most mimimum level, better than acetic acid or inoculated microorganism. Authorsสาระสังเขป: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะลดปริมาณสารพิษไฮโดรไซยานิกในมันสำปะหลังบด โดยอาศัยการทำงานของจุลินทรีย์ หรือการใช้กรดอินทรีย์บางชนิด ได้แก่ กรดแลกติกและกรดอะซิติก. ในขั้นแรกได้แยกเชื้อจุลินทรีย์จากการหมักมันสำปะหลังบด โดยอาศัยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติระยะเวลาต่างๆ ของการหมัก. พบจุลินทรีย์ที่มีปริมาณมาก ได้แก่ บักเตรีรูปร่างกลมติดสีแกรมบวกมีคุณสมบัติในการย่อยแป้งและสร้างกรด มีเชื้อยีสต์ปนอยู่เล็กน้อย. จากเชื้อบักเตรี 75 isolates ได้คัดเลือกไว้ 1 isolate คือ จุลินทรีย์หมายเลข 11 ซึ่งสามารถผลิตกรดได้ 1.1%. ขั้นที่สอง ได้ทดลองหมักมันสำปะหลังบด โดยใส่เชื้อจุลินทรีย์หมายเลข 11 เปรียบเทียบกับการใส่กรดแลกติกและกรดอะซิติก โดยให้มี pH3.8. จากการตรวจหาปริมาณไซยาไนด์ที่เหลืออยู่ในมันสำปะหลัง พบว่าการใส่กรดแลกติกจะทำให้ปริมาณไซยาไนด์ลดลงมากที่สุดกว่าใส่กรดอะซิติกหรือการใส่เชื้อจุลินทรีย์. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1995/960
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1995/960-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300