การผลิตเอทานอลจากวัสดุเกษตรเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน = fuel ethanol production from agricultural produce / Poonsook Atthasampunna...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Atthasampunna, Poonsook | Cameesak, Damrong | Chaisatpakorn, Chatchai | Euraree, Ampon | Somchai, Praphaisri | Srinorakutara, Kanong | อำพล เอื้ออารี | ดำรงค์ คามีศักดิ์ | ชัยสัตตปกรณ์, ชัชชัย | ศรีนรคุตร, คนอง | ประไพศรี สมใจ | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | พูนศุข อัตถะสัมปุณณะ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 28-28 ; Rep. no. 1 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1987 รายละเอียดตัวเล่ม: 53 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตเอทานอลจากวัสดุเกษตรเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนหัวเรื่อง: Alcohol | Cassava | Cassava chips | Cassava starch | Corn | Ethanol | Farm produce | Fuels | Sorgo | Sugarcaneสาระสังเขป: Formentation results from the pilot plant showed that the ethanol yield resulted from the low temperature cooking process for enzymatic conversion of starch in cassava chips and starch was comparatively close to that from the high temperature cooking process. In the case of corn mash, the application of the low temperature cooking process gave lower ethanol yield than the high temperature cooking. Some adjustment to the cooking/mashing procedures for the low temperature cooking was necessary. The ethanol yield derived from sugarcane juice or sweet sorghum juice suggested that no heat treatment was needed prior to fermentation. However, an addition preservative was required in case that fermentation could not be made immediately after juice extraction.สาระสังเขป: Processing of corn yeielded between 365 to 290 liters of ethanol per tonne of corn. Production of ethanol from cassave starch will require higher amount of nutrients compared to that added to cassava chips. This is due to the low nutritional valve of cassava starch. Because cassava starch had higher starch content than cassava chips, its ehtanol yield was higher being between 502 to 448 liters per tonne of cassava starch compared with 380 to 359 liters of ethanol obtained from 1 tonne of cassava chips.สาระสังเขป: Processing of sugarcane juice and sweet sorghum juice yielded comparable results. However, due to the difference in the extractable juice of the two produces, the ethanol yield per unit weight of raw material was different. The ethanol yield obtained from 1 tonne of sugarcane was 53 liters as against 25 liters from sweet sorghum.สาระสังเขป: Production of fuel ethanol from sugar and starch crops which are abundantly available in Thailand was evaluated in a pilot plant of capacity of 1,500 liters ethanol per day. Five raw materials which are corn, cassava chips, cassava starch, sugarcane and sweet sorghum were used in the processing into ethanol.สาระสังเขป: Starch raw materials were enzymatic hydrolyzed by applying heat at two different temperatures of 80 degree celsius and 120 degree celsius. Juice from sugarcane and/or sweet sorghum was treated with heat or preservative prior to fermentation by yeast. Distillation was performed at normal pressure.สาระสังเขป: The factory cost for producing 1 liter of ethanol (99.5 per cen v/v) at the 1,500-liter pilot plant using these raw materials - fresh cassave roots, cassava chips, cassava starch, sugarcane, and corn was estimated at 8.94 baht, 9.41 baht, 13.50 baht, 10.54 baht, and 10.65 baht respectively. - Authors.สาระสังเขป: ในการศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลจากวัสดุเกษตรประเภทน้ำตาลและแป้งที่มีอยู่มากมายภายในประเทศ ได้ใช้วัตถุดิบ 5 ชนิด คือ ข้าวโพด, มันเส้น, แป้งมันสำปะหลัง, อ้อย และข้าวฟ่างหวาน ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์จะนำข้อมูลที่ได้จากการทดลองในโรงงานต้นแบบไปใช้ประโยชน์ในการขยายขนาดการผลิตเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคต.สาระสังเขป: ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบก่อนการหมักด้วยยีสต์ สำหรับวัตถุดิบประเภทแป้งทำการเปลี่ยนแปลงเป็นน้ำตาลด้วยเอนไซม์ ใช้วิธีความร้อนสูงเปรียบเทียบกับวิธีใช้ความร้อนต่ำ. ส่วนน้ำอ้อยหรือน้ำข้าวฟ่างหวานได้เปรียบเทียบวิธีการต้มฆ่าเชื้อ กับวิธีใช้สารกันบูด, การกลั่นเอทานอลที่หมักเสร็จแล้ว ใช้วิธีการกลั่นที่ความดันบรรยากาศ.สาระสังเขป: ค่าใช้จ่ายต่อลิตรของการผลิตเอทานอล 99.5% โดยปริมาณ ในโรงงานต้นแบบขนาดกำลังผลิต 1,500 ลิตรต่อวัน สำหรับวัตถุดิบต่างชนิด คือ หัวมันสำปะหลังสด, มันเส้น, แป้งมันสำปะหลัง, อ้อย และข้าวโพด มีค่าตามลำดับดังนี้ คือ 8.94 บาท, 9.41 บาท, 13.50 บาท, 10.54 บาท ลแะ 10.65 บาท.สาระสังเขป: ผลการทดลองหมักในโรงงานต้นแบบ พบว่า วิธีการเปลี่ยนแป้งเป็น้ำตาลด้วยเอนไซม์สำหรับมันเส้นและแป้งมันสำปะหลัง วิธีใช้ความร้อนต่ำให้ผลผลิตเอทานอลใกล้เคียงกับวิธีใช้ความร้อนสูง. สำหรับข้าวโพด วิธีใช้ความร้อนต่ำยังให้ผลผลิตไม่ดีเท่าวิธีใช้ความร้อนสูง จำเป็นจะต้องปรับปรุงวิธีการย่อยแป้งด้วยเอนไซม์ด้วยวิธีใช้ความร้อนต่ำใหม่. ส่วนน้ำอ้อย หรือน้ำข้าวฟ่างหวาน ไม่มีความจำเป็นจะต้องฆ่าเชื้อด้วยวิธีต้ม, แต่มีความจำเป็นจะต้องใส่สารกันบูด ในกรณีที่จำเป็นจะต้องมีการขนส่งเนื่องจากโรงหีบและโรงกลั่นเอทานอลอยู่ห่างไกลกัน.สาระสังเขป: ผลผลิตเอทานนอลต่อหน่วยน้ำหนักวัตถุดิบประเภทแป้งมีดังนี้ คือ ระหว่าง 365 ถึง 290 ลิตร/ตันข้าวโพด, 380 ถึง 359 ลิตร/ตันมันเส้น, และ 502 ถึง 448 ลิตร/ตันแป้งมันสำปะหลัง. ผลผลิตเอทานอลจากแป้งมันสำปะหลังสูงกว่าจากมันเส้น เนื่องจากปริมาณแป้งในแป้งมันสำปะหลังมีสูงกว่ามันเส้น. อย่างไรก็ดีการใช้แป้งมันสำปะหลังเป็นวัตถุดิบจะต้องใส่อาหารเสริมให้แก่ยีสต์มากกว่ามันเส้น เพราะแป้งมันสำปะหลังมีองค์ประกอบด้านอาหารด้วยกว่า.สาระสังเขป: ผลผลิตเอทานอลต่อหน่วยน้ำหนักของน้ำอ้อยและน้ำข้าวฟ่างหวานมีค่าใกล้เคียงกัน. อย่างไรก็ดีเนื่องจากน้ำหวานที่หีบได้จากต้นอ้อยมีมากกว่าต้นข่าวฟ่างหวาน จึงทำให้ผลผลิตเอทานอลต่อหน่วยน้ำหนักวัตถุดิบต่างกัน คือ เท่ากับ 53 ลิตร/ตันอ้อย และ 25 ลิตร/ตันข้าวฟ่างหวาน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 RP1987/764

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300