การผลิตน้ำมันหอมระเหยบนที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย = essential oil production in the highlands of northern Thailand / Kwanyeun Wichapan...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chomchalow, Narong | Downdak, Churn | Klong-Karn-Ngarn, Inson | Pichitakul, Nitasna | Swatditat, Amornrat | Wichapan, Kwanyeun | ณรงค์ โฉมเฉลา | อินสน คล่องการงาน | เชิญ ด่าวดัก | นิทัศน์ พิชิตกุล | ขวัญยืน วิชพันธุ์ | อมรรัตน์ สวัสดิทัต | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Misc. Invest. no. 85 Rep. no. 6ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 22 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตน้ำมันหอมระเหยบนที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทยหัวเรื่อง: Essences and essential oils | North Thailandสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: This final report on "Essential oil production in the highlands of northern Thailand" covers the work done at ASRCT's Essential Oil Research Station at Chang Khian, site C which included the agronomic study of Chrysanthemum morifolium and its trial on spacing and planting material, study on Cymbopogon nardus, Eucalyptus spp., Lavandula spp., Mentha spp. and Rosa damascena. Results indicated that the most adapted ones for the highlands are Chrysanthemum morifolium and Eucalyptus smithii so far as their potentialities as substitutes for opium growing for hill-tribes are concerned. Three portable steam stills were installed at the station. A warm-air oven was built for dehydration of flowers and herbs. After trial runs on the this oven, a factory for Chrysanthemum tea production was designed and constructed. Fire wood was considered suitable for local conditions and thus used as fuel for running the factory. Distillations of Eucalyptus spp., Cymbopogon nardus, Mentha spp., Pelagonium sp., and Chrysanthemum morifolium were performed. Authors.สาระสังเขป: รายงานนี้เป็นรายงานฉบับสุดท้ายของโครงการผลิตพืชน้ำมันหอมระเหยบนที่สูงของประเทศครอบคลุมงานที่ทำที่สถานีวิจัยพืชน้ำมันหอมระเหย ดอยช่างเคี่ยน สถานที่ Site C ซึ่งมีการศึกษาลักษณะพันธุ์เก็กฮวย Chrysanthemum morifolium และการทดลองระยะปลูกและส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์เก๊กฮวย; ศึกษาพันธุ์ตะไคร้หอม, ยูคาลิปตัส, ลาเวนเดอร์ ชนิดต่าง ๆ, มินต์ชนิดต่าง ๆ และกุหลาบมอญ. ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า พืชที่เหมาะที่สุดสำหรับปลูกบนที่สูงเพื่อให้ชาวเขาปลูกแทนการปลูกฝิ่นได้แก่ เก๊กฮวย และ ยูคาลิปตัส (Eucalyatus amithii). ได้สร้างเครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหยชนิดเคลื่อนย้ายได้ 3 เครื่อง ที่สถานีและตู้อบลมร้อน สำหรับมอบดอกเก็กฮวยและตัวอย่างพืช 1 ตู้. หลังจากทดลองและปรับปรุงแก้ไขตู้อบจนมีประสิทธิภาพดีแล้ว ได้นำข้อมูลไปออกแบบสร้างโรงอบเก๊กฮวยขึ้น โดยใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงเพื่อนำความร้อนมาใช้ในการอบเก๊กฮวยให้แห้ง. พืชน้ำมันหอมระเหยที่กลั่นไปแล้วได้แก่ เก๊กฮวย, ยูคาลิปตัส, ตะไคร้หอม, มินต์ชนิดต่าง ๆ และ เยอเรเนียม. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1978/488
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1978/488-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300