การวิจัยและพัฒนาเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์จากข้าวโพด = Research and development of alcoholic beverages from corn / Rachain Visutthipat [et al.]

โดย: Rachain Visutthipat
ผู้แต่งร่วม: Rachain Visutthipat | Sayam Sinsawat | Pathan Potisawat | Siritham Singhtho | Pariyada Visutthipat | Suthirak Meeploi | Supart Klonkarngan | Sarawut Ratchali | Atchara Ratchali | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สยาม สินสวัสดิ์ | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | ศิริธรรม สิงห์โต | ปริยะดา วิสุทธิแพทย์ | สุทธิรักษ์ มีพลอย | สุภัทร์ คล่องการงาน | ศราวุธ ราชลี | อัจฉรา ราชลี
IoF: เกษตรและอาหาร ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2025 รายละเอียดตัวเล่ม: 74 p. : tables, ill. ; 30 cmชื่อเรื่องอื่นๆ: รหัสโครงการ : 6618203103หัวเรื่อง: ข้าวโพด | เครื่องดื่ม | วัสดุเหลือทิ้ง | เกษตรและอาหารสาระสังเขป: The purpose of this research was to use fodder maize as a raw material for the production of white liquor to replace glutinous rice or other raw materials which the cost is higher and it reduces the energy cost of spirits distillation by using biomass as a waste. From the production of by product maize and agricultural wastes, the study of starch saccharification and fermentation of sugars formed from fodder maize was studied. To become alcohol, it was found that the most suitable method was to digest the starch in the milled fodder maize boiled at 90 – 95 °C, then digested with 2 commercial enzymes, α - Amylase and Glucoamylase, and then fermented with selected yeast. The different yeasts were TISTR5049, TISTR5339, yeast from Sa-iab Sub-district, Phrae Province, and commercial yeast (Anchor yeast) fermented at room temperature for 15 days after the end of fermentation. The distilled spirit was compared using a distiller developed to distill liquor from corn. and the low-cost thermal distiller. It was found that the wort fermented by yeast TISTR5049 distilled by the low-cost thermal distiller The highest alcohol content was 13.24 (% w/v) and reduced costs and time in the distillation process. with renewable heat energy from cooking gas By using renewable energy from corn waste materials such as cores, shreds and husks of fodder corn. Can reduce the cost of refining by 1.50 baht / liter compared to the use of conventional biomass or more economical than cooking gas. The price is about 3.30 baht/liter, However the cost was depending on the alcohol content of the fodder corn wortsสาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ข้าวโพดอาหารสัตว์มาเป็นวัตถุดิบเพื่อการผลิตสุราขาว ทดแทนข้าวเหนียวหรือวัตถุดิบอื่นๆ ซึ่งมีราคาสูงกว่าและลดต้นทุนการใช้พลังงานในการต้มกลั่นเหล้า โดยใช้ชีวมวลที่เป็นของเหลือทิ้ง จากการผลิตข้าวโพดอาหารสัตว์และวัสดุเหลือใช้ทางการ เกษตร การศึกษาการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลและหมักน้ำตาลที่เกิดขึ้นจากข้าวโพดอาหารสัตว์ ให้เกิดเป็น แอลกอฮอล์พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือทำการย่อยแป้งในเมล็ดข้าวโพดอาหารสัตว์ที่ผ่าน กระบวนการบดละเอียดต้มในช่วง 90 – 95 องศาเซลเซียส แล้วย่อยด้วยเอนไซม์ทางการค้า 2 ชนิด คือ α - Amylase และ Glucoamylase แล้วห มักด้วยยีสต์แต่ละชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ TISTR5049, TISTR5339 เชื้อยีสต์บริสุทธิ์แยกจากลูกแป้งตำบลสะเอียบ จังหวัดแพร่ และยีสต์ทาง การค้า (Anchor yeast) หมักที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 15 วัน หลังสิ้นสุดการหมัก นำน้ำส่าที่ได้ไป กลั่นเปรียบเทียบโดยใช้เครื่องกลั่นสุราที่พัฒนาขึ้นเพื่อกลั่นสุราจากข้าวโพด และเครื่องกลั่นสุราระบบ ใช้พลังงานความร้อนต้นทุนต่ำ พบว่ายีสต์ TISTR5049 ที่กลั่นโดยเครื่องกลั่นสุราระบบใช้พลังงาน ความร้อนต้นทุนต่ำ ให้ปริมาณแอลกอฮอล์มากที่สุด คือ 13.24 % (w/v) อีกทั้งยังลดต้นทุนและเวลา ในกระบวนการกลั่นด้วยพลังงานความร้อนที่ใช้ทดแทนจากก๊าซหุงต้ม โดยใช้พลังงานทดแทนจากวัสดุ เหลือทิ้งจากข้าวโพด เช่น แกน ชัง และเปลือกของข้าวโพดอาหารสัตว์ สามารถลดต้นทุนการกลั่นลง ได้ 1.50 บาท/ลิตร เมื่อเทียบกับการใช้ชีวมวลแบบเดิมหรือประหยัดกว่าก๊าซหุงต้ม ซึ่งมีราคา ประมาณ 3.30 บาท/ลิตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณแอลกอฮอล์ในน้ำส่าด้วย
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300