การพัฒนาวัสดุสำหรับขั้วแคโทดและเยื่อเลือกผ่านในลิเทียม - ซัลเฟอร์แบตเตอรี่จากวัสดุเหลือทิ้งอุตสาหกรรมน้ำตาล = Development of cathode materials and separators for lithium-sulfur batteries from sugar industry wastes / Parawee Pumwongpitak [et al.]

โดย: Parawee Pumwongpitak
ผู้แต่งร่วม: Parawee Pumwongpitak | Thammasit Vongsetskul | Busarin Noikeaw | Saengdoen Daungdaw | Laksana Wangmooklang | Siriporn Larpkiattaworn | ปารวีร์ ภูมิวงศ์พิทักษ์ | ธรรมสิทธิ์ วงศ์เศรษฐสกุล | บุศรินทร์ น้อยแก้ว | แสงเดือน ดวงดาว | ลักษณา หวังหมู่กลาง | ศิริพร ลาภเกียรติถาวร
ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 49 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: รหัสโครงการ : 6618302060หัวเรื่อง: ลิเทียม-ซัลเฟอร์แบตเตอรี่ | ชานอ้อย | วัสดุเหลือทิ้งอุตสาหกรรมน้ำตาลสาระสังเขป: This project seeks to enhance the value of bagasse, a byproduct of sugar refining, by repurposing it as both a cathode material and separator in lithium-sulfur batteries. The bagasse purification involves chemical and heat treatment processes. Initially, the bagasse undergoes treatment with sodium hydroxide solution followed by hydrogen peroxide. The resulting cellulose fibers are blended with 5% and 10% titania particles to create separators, demonstrating porosities of 65% and 59%, respectively For the synthesis of carbon to be employed as the cathode material, a combination of chemical and heat treatments is employed using potassium hydroxide solution at varying concentrations and heating temperatures. Additionally, sulfuric acid and sodium hydroxide are utilized to eliminate impurities. The resulting powder is then mixed with sulfur to generate a carbon-sulfur composite material for the preparation of cathode materials. This innovative approach not only adds value to the waste material, bagasse, but also contributes to the development of sustainable energy solutions through the utilization of eco-friendly materials in lithium-sulfur battery componentsสาระสังเขป: งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการนำกากเหลือทิ้งชานอ้อยจากโรงงานน้ำตาลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำมาแปรรูปเป็นวัสดุสำหรับใช้ในขั้วแคโทดและเยื่อเลือกผ่านสำหรับลิเทียม-ซัลเฟอร์แบตเตอรี่ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับของเหลือทิ้ง โดยทำการแปรรูปกากชานอ้อยด้วยกระบวนการทางเคมีและกระบวนการทางความร้อน โดยกากชานอ้อยถูกนำมาแปรรูปด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ จากนั้นนำเซลลูโลสและไปผสมกับไทเทเนียมร้อยละ 5 และ 10 สำหรับเตรียมเซปพาเรเตอร์ ซึ่งพบว่าเซปพาเรเตอร์ที่เตรียมจากเซลลูโลส-ไทเทเนียมมีความพรุนร้อยละ 65 และ 59 ตามลำดับ ส่วนการแปรรูปเป็นวัสดุสำหรับใช้ในขั้วแคโทดนั้น กากชานอ้อยถูกนำมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนเซชัน และกระตุ้นด้วยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ นอกจากยังสามารถเตรียมได้จากการล้างด้วยกรดซัลฟิวริก และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เพื่อล้างซิลิกาที่เป็นสิ่งเจือปนออก จากนั้นจึงนำไปผสมกับซัลเฟอร์เพื่อให้ได้วัสดุคอมโพสิตคาร์บอน-ซัลเฟอร์สำหรับใช้เป็นวัสดุสำหรับขั้วแคโทด
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300