การวิจัยและพัฒนาปรับกระบวนการสรีรวิทยาของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตสมุนไพรสำหรับผู้สูงอายุ = Research and development of plant physiological processes to increase productivity of herbs for the elderly / Kusol iamsub [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Kusol iamsub
ผู้แต่งร่วม: Kusol iamsub | Sodsri neamprem | กุศล เอี่ยมทรัพย์ | สดศรี เนียมเปรม
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 29 p. : ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.58-08 โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมจากสมุนไพรเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยที่มีภาวะพร่องฮอร์โมน หัวเรื่อง: สรีรวิทยา | หม่อน | มะเม่าสาระสังเขป: The research and development of plant physiological processes to increase productivity of herbs for the elderly consists of three parts, the first part aims to analyze effect of propagation methods of cutting and compare with air layering methods on promoting a number of shoot growth and yield of mulberry trees. The second part focuses on improving percent flowering of mulberry trees by foliar spray with mepiquat chloride 500 ppm, soil drench with paclobutrazol at a level of 50 gm/tree, stem ringing and shoot tip cutting compare with non-treated tree. The thirst part is to improve percent of flowering and fruit set of Antidesma thwaitesianum by comparison of foliar spray with mepiquat chloride 500 ppm, soil drench with paclobutrazol at a level of 50 gm/tree, stem ringing and branch bending compare with non-treated tree. It showed that air layering method has higher number of roots and branches than cutting methods. The trunk diameters were also larger and produced higher yields. As for the results of soil drench with paclobutrazol at a level of 50 gm/tree in mulberry, it promoted yield of fruit per branch more than another treatment. For Antidesma thwaitesianum, all treatments showed high number of bouquet than non-treated tree.สาระสังเขป: การวิจัยและพัฒนากระบวนการทางสรีรวิทยาของพืชเพื่อการเพิ่มผลผลิตของสมุนไพรสำหรับผู้สูงอายุประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การศึกษาที่หนึ่งเพื่อวิเคราะห์ผลของวิธีการขยายพันธุ์เปรียบเทียบการปักชำละการตอนกิ่งหม่อนเพื่อเพิ่มศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นหม่อน ส่วนที่สองของการวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นการกระตุ้นการออกดอกของต้นหม่อนโดยการฉีดพ่น mepiquat chloride 500 ppm การราดทางดิน 50 กรัม/ต้น ด้วย paclobutrazol การควั่นกิ่ง และการตัดปลายยอดเทียบกับต้นไม้ที่ไม่ได้ทำการทดลอง ส่วนที่สามในการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อกระตุ้นเปอร์เซ็นต์การออกดอกและช่อผลของหม่อน โดยการเปรียบเทียบการสเปรย์ mepiquat คลอไรด์ 500 ppm, การราดทางดิน 50 กรัม/ต้น ด้วย paclobutrazol การควั่นกิ่งและการโน้มกิ่ง เมื่อเทียบกับต้นไม้ที่ไม่มีการทดลอง ผลการทดลองพบว่าวิธีขยายพันธุ์โดยการตอนกิ่งมีจำนวนราก เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น จำนวนกิ่งและผลผลิตมากกว่าวิธีการตัดชำ สำหรับการทดลองในหม่อนการราดสารทางดิน 50 กรัม/ต้น ด้วย paclobutrazol ให้ผลผลิตมากกว่าวิธีการอื่น สำหรับการทดลองในมะเม่าการทดลองทุกวิธีมีจำนวนช่อมากกว่าต้นไม้ที่ไม่ผ่านการทดลอง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300