นวัตกรรมการพัฒนาสารสกัดจากผักและผลไม้สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์ = Innovation for function product from vegetables and fruits for gout patients / Sinee Siricoon [et al.]

โดย: Sinee Siricoon
ผู้แต่งร่วม: Sinee Siricoon | Chiramet Auranwiwat | Waraporn Sorndech | Wiriyaporn Sumsakul | Thongkorn Ploypetchara | Siriporn Butseekhot | Bundit Fungsin | สินี ศิริคูณ | จิรเมธ อุฬารวิวัฒน์ | วราภรณ์ ศรเดช | วิริยาภรณ์ สุ่มสกุล | ทองกร พลอยเพชรา | ศิริพร บุตรสีโคตร | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์
BCG: สารสกัด TRM: ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Health products) ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 79 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.65-12 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดและปรับปรุงประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชและของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการแปรรูปปลา เพื่อเสริมสร้างระบบกระดูกและข้อ สำหรับสังคมก่อนและสูงวัย หัวเรื่อง: สารต้านอนุมูลอิสระ | สารสกัดจากพืช | อุตสาหกรรมการแปรรูปปลาสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: Antioxidants play a crucial role in shielding the body from harm caused by free radicals. The intake of natural antioxidants helps protect molecules from oxidation when exposed to free radicals and reactive oxygen species in cells. This study evaluated the antioxidant properties of medicinal plant extracts using the DPPH radical scavenging assay, FRAP assay, and determined their total phenolic content using the Folin-Ciocalteu method. The study found that all medicinal plant extracts (Aegle marmelos, Aloe vera, Pandanus amaryllifolius, Hibiscus sabdariffa, Averrhoa carambola and Morinda citrifolia) were effective in scavenging FRAP radicals (79.96±3.94 - 1,407.94±49.58 µM/g crude extract). However, the DPPH assay revealed low antioxidant activity with IC50 values ranging from 690.74±0.94 to >1000 µg/mL. The total phenolic content of the ethanolic extracts was found to be significant (14.87±2.58 - 129.70±1.22 mg GAE/g crude extract). These results suggest that the ethanolic extract of medicinal plants could be a promising source of antioxidants and may help prevent many radical-related diseases.สาระสังเขป: สารต้านอนุมูลอิสระเป็นสารสำคัญที่ทำหน้าที่ปกป้องร่างกายจากความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระ การป้องกันโมเลกุลจากการเกิดออกซิเดชันเมื่อสัมผัสกับอนุมูลอิสระและออกซิเจนที่ทำปฏิกิริยาในเซลล์สามารถทำได้โดยการได้รับสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติที่เหมาะสม การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเอทานอลจากพืชสมุนไพรโดยใช้ 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) free radical scavenging assay, การทดสอบการต้านอนุมูลอิสระรีดิวซ์สารต้านอนุมูลอิสระ (FRAP) และปริมาณฟินอลิกทั้งหมดถูกวัดโดยวิธี Folin-Ciocalteu ผลการวิจัยพบว่าสารสกัดจากพืชสมุนไพรทั้งหมด (มะตูม, ว่านหางจระเข้, ใบเตย, กระเจี๊ยบแดง, มะเฟือง และยอ) มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระโดยทดสอบด้วยวิธี FRAP (79.96±3.94 - 1,407.94±49.58 ไมโครโมลาร์ต่อกรัมสารสกัดหยาบ) และในกรณีของการทดสอบการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH พบการมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระต่ำ (ค่า IC50 ตั้งแต่ 690.74±0.94 ถึง >1000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) สารสกัดเอทานอลของพืชสมุนไพรทั้งหมดแสดงให้ว่ามีปริมาณฟินอลิกสูงอย่างมีนัยสำคัญ (14.87±2.58 - 129.70±1.22 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมตัวอย่างสารสกัดหยาบ) จากการทดลองดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าสารสกัดดังกล่าวมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระและมีปริมาณฟินอลิกที่สูง ซึ่งบ่งชี้ว่าสารสกัดเอทานอลจากพืชสมุนไพรทั้งหมดมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระและสามารถป้องกันโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอนุมูลอิสระได้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300