การพัฒนาเครื่องจักรสันดาปภายนอกแบบวงล้อหมุนรอบแกนเพลาสำหรับผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก = Development of rotary stirling engine for generator / Songkiat Roddaeng [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Songkiat Roddaeng
ผู้แต่งร่วม: Songkiat Roddaeng | Pleuk Vongpanit | Arunrat Saendsing | Saichon Satiendee | ทรงเกียรติ รอดแดง | พฤกษ์ วงศ์พาณิชย์ | อรุณรัตน์ แสนสิ่ง | สายชล เสถียรดี
TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม ชื่อชุด: Res. Proj. no. 62-03, Sub Proj. no. 3; no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 67 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.62-03 การพัฒนาเครื่องยนต์ต้นกำลังสาหรับผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กหัวเรื่อง: เครื่องยนต์สเตอร์ลิง | เครื่องจักรสันดาปภายนอก | เครื่องผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กสาระสังเขป: A stirling engine is a hot gas engine that can be used with multi-fuel choices as the heat source. The stirling engine is a potential engine which provide use of variety fuel type such as from biogas, solar energy, or other fuels. The development of rotary stirling engine for generator has good advantage in size over other types of stirling engines and has less complicated mechanical part. The object of this research is design and develop the quasi-turbine engine and find the potential as electric generator. Energy efficiency of the quasi-turbine engine was founded by using statistical simulation and testing. The test result shows promising potentials as highest efficiency at 72% and highest energy generated at 4.8 kW. The optimized working steam pressure is in the range of 1.6 to 2.4 bar, which had the working efficiency of 60% to 72%.สาระสังเขป: เครื่องยนต์สเตอร์ลิงเป็นเครื่องยนต์ก๊าซร้อนที่มีศักยภาพสามารถใช้ได้กับพลังงานความร้อนหลายทางเลือก ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง พลังงานจากชีวมวล พลังงานแก๊สชีวภาพ พลังงานแสงอาทิตย์ผลพลอยได้ทางการเกษตร พลังงานความร้อนเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและขยะ เป็นต้น เครื่องยนต์สเตอร์ลิงแบบลูกสูบเคลื่อนที่อิสระมีความได้เปรียบที่ดีในด้านความไม่ซับซ้อนทางกลไก จำนวนชิ้นส่วนน้อย จึงทำให้มีของขนาดกะทัดรัดกว่าเครื่องยนต์สเตอร์ลิงแบบกลไกข้อเหวี่ยง วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือการออกแบบและทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์สเตอร์ลิงแบบ วงล้อหมุนรอบแกนเพลาสาหรับผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก การทดสอบประสิทธิภาพการทำงาน ในรูปแบบของการจำลองเชิงสถิติ และการทดสอบจริง เปรียบเทียบกัน พบว่า เครื่องยนต์สเตอร์ลิงแบบวงล้อหมุนรอบแกนเพลา สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้โดยมีประสิทธิภาพการทำงานสูงสุดร้อยละ 72 สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าสูงสุดได้ 4.8 กิโลวัตต์ และพบช่วงของการทำงานที่เหมาะสมในช่วงแรงดันไอน้ำ 1.6 ถึง 2.4 บาร์ โดยมีค่าประสิทธิภาพ ร้อยละ 60 ถึง 72 ในช่วงดังกล่าว
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300