การพัฒนาต้นแบบกระบวนการผลิตสารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชโดยใช้เทคโนโลยีเมมเบรน = The development of production process for healthy sweetener from cereal by membrane technology / Sawaeng Gerdpratoom [et al.]

โดย: Sawaeng Gerdpratoom
ผู้แต่งร่วม: Sawaeng Gerdpratoom | Boonchu Leelakajohnjit | Ekachai Thammasat | Songkiat Roddeang | Saichon Satiendee | Boonthurun Mongcontalang | แสวง เกิดประทุม | บุญชู ลีลาขจรจิต | เอกชัย ธรรมสัตย์ | ทรงเกียรติ รอดแดง | สายชล เสถียรดี | บุญเตือน มงคลแถลง
BCG: อาหาร TRM: อาหาร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-06, Sub Proj. no. 6; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 46 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.52-06 การพัฒนาต้นแบบกระบวนการผลิตสารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชโดยใช้เทคโนโลยีเมมเบรนหัวเรื่อง: สารให้ความหวาน | ข้าวเหนียว | เทคโนโลยีเมมเบรนสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: Thai sticky rice with 99% amylopectin content as carbohydrate was used for the production of healthy sweetener in this study. Amylomyces rouxii was selected to digest carbohydrate in this study because of higher amylase synthesis. In the process fermentation, Amylase enzyme will digest starch in the sticky rice into sugar on screen or perforated tray, thus the product can be separated easily by flowing through the screen into the collection unit at the bottom of fermenter by gravity. After 7 days of fermentation, one kilogram of Thai sticky rice can produce 1.499 liter of sweetener in average, Maximum production of 536 milliliters can be achieved on the fourth day of fermentation. The Sweetener product is light yellow in color and has its own specific scent. For convenient use, the product can be process further into solid flake by vacuum or freeze drying. The composition such as glucose or oligofructose that found in the sweetener is valuable, as an alternative sweetener. Fructo-oligosaccharide commercial use has been emerged in response to consumer demand for healthier and caloric-reduced food as natural fiber food. สาระสังเขป: การผลิตสารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชโดยใช้ข้าวเหนียวเป็นวัตถุดิบในข้าวเหนียว ประกอบด้วย อะไมโลเพกทินร้อยละ 99 ในการทดลองใช้เชื้อรา Amylomyces rourii เป็นตัวย่อยแป้งข้าวเหนียว ซึ่งเชื้อรา Amylomyces rourii นั้น สามารถสร้างเอนไซม์อะไมเลสได้ดีและปริมาณสูงกว่าเชื้อราตัวอื่น เอนไซม์อะไมเลสทำหน้าที่ในการย่อยแป้งข้าวเหนียวให้เป็นน้ำตาล, ซึ่งในกระบวนการผลิตจะแยกผลิตภัณฑ์ออกจากวัตถุดิบในกระบวนการหมัก, โดยใช้ตะแกรงเป็นอุปกรณ์ในการหมักทำให้ผลิตภัณฑ์หยดแยกตัวออกมา ข้าวเหนียว 1 กิโลกรัม สามารถผลิตสารให้ความหวานได้เฉลี่ย 1.499 ลิตร ใช้เวลาในการหมัก 7 วัน วันที่ผลิตสารให้ความหวานได้มากที่สุด คือ ในวันที่ 4 ของการหมัก ซึ่งผลิตได้ 536 มิลลิลิตร, ที่มีความหวาน 32 องศาบริกซ์ สารให้ความหวานที่ได้มีลักษณะสีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นเฉพาะตัวของข้าวสารให้ความหวานที่ได้ เมื่อนำไปผลิตเป็นน้ำตาลเกล็ด โดยการทำแห้งเยือกแข็ง จะได้น้ำตาลเกล็ดที่สามารถนำไปผสมกับเครื่องดื่ม ให้รสชาติที่ดีและมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว แตกต่างจากน้ำตาลทั่วไป สารให้ความหวานที่ได้ ประกอบด้วย น้ำตาลกลูโคสและโอลิโกฟรักโทส เป็นน้ำตาลเชิงซ้อน, ฟรักโทโอลิโกแซ็กคาไรด์ ซึ่งเป็นเส้นใยอาหารจากธรรมชาติ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300