การวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงชันโรงในเขตวนเกษตรที่สูงเพื่อผลผลิตเชิงหน้าที่ = Research and development of stingless bee's culture in high land agroforestry for functional products / Cholticha Niwaspragrit [et al.]

โดย: Cholticha Niwaspragrit
ผู้แต่งร่วม: Cholticha Niwaspragrit | Wissarut Sukhaket | Duangthip Gantha | Phawini Khetnon | ชลธิชา นิวาสประกฤติ | วิศรุต สุขะเกตุ | ดวงทิพย์ กัณฐา | ภาวินี เขตร์นนท์
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ชื่อชุด: Res. Proj. No.65-03, Sub Proj. no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 53 p. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.65-03 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชันโรงเชิงหน้าที่จากวนเกษตรที่สูงหัวเรื่อง: ชันโรง | วนเกษตรที่สูง | stingless beeสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: The knowledge of meliponary or stingless bee culture for use as a functional ingredient in highland agroforestry, where medicinal plant richness is abundant, is limited. The biggest issue is the unreliable and fluctuating food source from native species, which affects the quality and quantity of functional compounds in their honey, used in therapeutic products. Sustaining meliponary in agroforestry may also pose challenges. A study showed that the plant species diversity for stingless bee food in agroforestry, as measured by the Shannon-Wiener index, was lower than in non-agricultural forests (1.989 vs. 2.300). The physical properties of Rungarun stingless bee honey (T. laeviceps) differed slightly between the two areas, with a higher % moisture in non-agriculture forests (25.60) compared to agroforestry (22.00). However, agroforestry honey had a higher % of sucrose (11.90) than non-agricultural forest honey (2.10) due to a uniformity of plant species. The density of colonies in agroforestry was found to have no impact on colony development at 5, 10, or 15 meter distancesสาระสังเขป: การเพาะเลี้ยงชันโรงให้ได้ผลผลิตเชิงหน้าที่ (functional ingredient) จากวนเกษตรที่สูงซึ่งเป็นแหล่งของสมุนไพรท้องถิ่นมากมาย ยังขาดองค์ความรู้และเทคนิคการเพาะเลี้ยงที่ดี เนื่องจากปัญหาของแหล่งอาหารของชันโรงที่มีไม่สม่ำเสมอในแต่ละฤดูกาล และส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของผลผลิต โดยเฉพาะปริมาณสารออกฤทธิ์ในผลผลิต นอกจากนี้การเพาะเลี้ยงชันโรงในพื้นที่วนเกษตรอาจทำให้ได้ผลผลิตน้ำผึ้งที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างออกไป และอาจพบปัญหาต่อความยั่งยืนในการเพาะเลี้ยง จากการศึกษาดัชนีความหลากหลายของสังคมพืชอาหารของชันโรงในวนเกษตรสวนไม้ผลผสมผสานพบว่า มีดัชนีความหลากหลายของสังคมพืชน้อยกว่าป่าธรรมชาติ จากการประเมินด้วย Shannon-Wiener index (H) อยู่ที่ 1.989 และ 2.300 ตามลำดับ และเมื่อเปรียบเทียบด้วยคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำผึ้งชันโรงรุ่งอรุณ (T. laeviceps) จากทั้งสองแหล่งพบว่า มีคุณสมบัติต่างกันเพียงเล็กน้อย โดยเฉพาะค่าความชื้น เท่ากับ 22.00 และ 25.60 ตามลำดับ ในขณะที่ค่าเปอร์เซ็นต์ของปริมาณซูโครสจากน้ำผึ้งชันโรงในพื้นที่วนเกษตรสวนไม้ผลผสมผสานจะมีสูงกว่ามาก เท่ากับ 11.90 แต่น้ำผึ้งชันโรงจากพื้นที่ป่าธรรมชาติจะมีปริมาณต่ำกว่ามาก เท่ากับ 2.10 ซึ่งอาจเป็นผลมาจากความสม่ำเสมอทางชนิดพรรณไม้ในพื้นที่ ทั้งนี้ การเพาะเลี้ยงชันโรงรุ่นอรุณในพื้นที่วนเกษตรด้วยการติดตั้งรังในระยะห่างแตกต่างกัน ได้แก่ 5, 10, 15 เมตร ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของโคโลนี ที่ระดับความหลากหลายทางสังคมพืชอาหารดังกล่าวข้างต้น.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300