การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร = Research and development on probiotic for swine production / Bundit Fungsin [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Bundit Fungsin
ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Buaban, Wanaluk | Chatanon, Lawan | Fungsin, Bundit | Kerdprathum, Saman | Poonsiri, Chantara | Saman, Premsuda | Srichuai, Aphinan | สมาน เกิดประทุม | ลาวัลย์ ชตานนท์ | วรรณลักษณ์ บัวบาน | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ฉันทรา พูนศิริ | อภินันท์ ศรีช่วย | เปรมสุดา สมาน | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
BCG: จุลินทรีย์ Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-02 , Sub Proj. no. 5ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 48 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.53 01 การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรอย่างยั่งยืนหัวเรื่อง: Lactic acid bacteria | Lactobacillus acidophilus | Probiotics | Ribosomal DNA sequencing analysis | Swineสาระสังเขป: Two hundred and ten bacterial strains were isolated from 34 pig dung samples for screening on probiotic purpose. Four strains of Lactic acid bacteria, i.e 13-9, 16-5 20-3 and 20-7 showed the potency of probiotic strains which were identified as Lactobacillus acidophilus by using molecular technique of ribosomal DNA sequencing analysis. The result of study on the formulation of production medium for Lactobacillus acidophilus revealed that sucrose was as the most appropriate carbon source among 3 kinds of sugar; glucose, lactose and sucrose, meanwhile yeast extract had performed as the appropriate nitrogen source among peptone, yeast extract and ammonium sulfate. The optimal amounts of sucrose and yeast extract in the production medium were, 2.0% and 0.5% (w/v), respectively. The results of study on ability of bacterial survival in gastrointestinal-like circumstance, showed that Lactobacillus acidophilus had ability to survive at the 1.5% (w/v) bile salt and the lowest pH rage of 2.0-2.5. The bacterial strains showed a very good performance on colonization ability to the animal intestinal epithelial cell by efficiency value of 42.85%. The results of study on cultivation of bacteria in 5 liter fermenter showed that the compensate production medium provided quite good results similar to those of the commercial medium at the cell concentration at 108 cfu/ml. The cultivating conditions of bacteria in the fermenter were temperature at 37oC, agitation of 50 rpm and non-control of pH. The probiotic strain showed a good efficiency on chlorine tolerance up to chlorine concentration of 10 ppm at 4 hrs that reduced probiotic cell for 2 log of cell number. The field trial of using probiotic for feeding of weaned pig, the probiotic groups showed the higher value of average weight gain more than 1 kg. than that of control group. The efficiency of animal feeding, probiotic groups gave a better value of feed conversion rate (FCR) than that of control group. In addition, the numbers of coliform bacteria and E. coli in animal faeces of probiotic groups were lower than those of control group.สาระสังเขป: การแยกจุลินทรีย์จากตัวอย่างมูลสุกรจำนวน 34 ตัวอย่าง, สามารถแยกจุลินทรีย์ได้ทั้งสิ้น 210 สายพันธุ์. การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีคณสมบัติเป็นโพรไบโอติกสุกร ได้แก่ แบคทีเรียกลุ่มแบคทีเรียกรดแล็กติก จำนวน 4 สายพันธุ์ 13-9, 16-5, 20-3 และ 20-7. โดยการจัดจำแนกด้วยการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ พบว่า เป็นสายพันธุ์ Lactobacillus acidophilus. ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเจริญของจุลินทรีย์โพรไบโอติกสุกร พบว่า องค์ประกอบในอาหารทดแทนอาหารสำเร็จรูป, แหล่งคาร์บอนจากน้ำตาล 3 ชนิด คือ กลูโคส, ซูโครส และแล็กโทส ที่ใช้ร่วมกับหางนมพบว่า น้ำตาลซูโครสให้ผลการเจริญของจุลินทรีย์ดีที่สุด, ปริมาณที่เหมาะสมของน้ำตาลซูโครสที่ใช้ 2% (w/v). การทดสอบแหล่งไนโตรเจน 3 ชนิด คือ เปปโตน, ยีสต์สกัด และแอมโมเนียมซัลเฟต พบว่า ยีสต์สกัดให้ผลการเจริญของจุลินทรีย์ดีที่สุด, โดยปริมาณที่เหมาะสม คือ 0.5% (w/v). การศึกษาคุณสมบัติของจุลินทรีย์ต่อสภาวะที่คล้ายกับในระบบทางเดินอาหาร, จุลินทรีย์โพรไบโอติก Lactobacillus acidophilus มีความสามารถที่เจริญในเกลือน้ำดีได้สูงถึง 1.5% (w/v) และสามารถที่เจริญในสภาวะเป็นกรดที่มีค่าพีเอชถึง 2-2.5. จุลินทรีย์โพรไบโอติกมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะต่อผนังเซลล์ลำไส้สุกรได้ดี โดยมีค่าเปอร์เซ็นต์ในการยึดเกาะเท่ากับ 42.85. การศึกษาสภาวะการเลี้ยง Lactobacillus acidophilus ในถังหมักขนาด 5 ลิตร โดยใช้อาหารทดแทนเลี้ยง, ให้ผลในการเลี้ยงที่ดีใกล้เคียงกับการใช้อาหารสำเร็จรูปโดยมีปริมาณเซลล์ระดับ 108 เซลล์ต่อมิลลิลิตร. สภาวะการเลี้ยงที่เลือกใช้ คือ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส, ความเร็วรอบการกวน 50 รอบต่อนาที, โดยมีการควบคุมค่าพีเอช. การทดสอบประสิทธิภาพการทนต่อคลอรีน จุลินทรีย์โพรไบโอติกมีความสามารถทนต่อคลอรีนถึงความเข้มข้น 10 พีพีเอ็ม เป็นเวลา 4 ชั่วโมง, จำนวนเซลล์ลดลง 2 ค่ายกกำลัง. การทดลองใช้ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกในการทดลองเลี้ยงลูกสุกรหย่านม เป็นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ค่าน้ำหนักสุกรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อตัวของกลุ่มที่ให้โพรไบโอติกมีน้ำหนักสูงกว่ากลุ่มที่ควบคุมมากกว่า 1 กิโลกรัม. ประสิทธิภาพในการเลี้ยงพบว่า ค่าอัตราการแลกเนื้อ (FCR) กลุ่มให้โพรไบโอติกดีกว่ากลุ่มควบคุม. มูลสุกรกลุ่มสุกรที่ให้โพรไบโอติกมีปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอร์ม และ อี. โคไล น้อยกว่ากลุ่มควบคุม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300