การเพิ่มผลผลิตและควบคุมความสม่ำเสมอของผลแก่สบู่ดำ = Higher yield production and fruit maturing regulation of jatropha curcas l. / Piya Chalermglin [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Piya Chalermglin
ผู้แต่งร่วม: Piya Chalermglin | Patcharin Kengkarj | Jirapan Srithongkul | Anan Phiriyaphattharakit | ปิยะ เฉลิมกลิ่น | พัชรินทร์ เก่งกาจ | จิรพันธ์ ศรีทองกุล | อนันต์ พิริยะภัทรกิจ
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-07, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 55 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.50-07 การเพิ่มผลผลิตและควบคุมความสม่ำเสมอของผลแก่สบู่ดำหัวเรื่อง: สบู่ดำ | พาโคลบิวทราโซลสาระสังเขป: The project was conducted at Phra Ram Kao Reservoir, Khlong Ha, Pathum Thani Province, from October 2006 to September 2009. The experimental area, covering 2 rais, belonged to the Rangsit Soil Series, characterized by very low pH. To improve the soil conditions, marls and manure fertilizer were applied. Jatropha curcas was planted with a spacing of 1x2 meters, either as a sole crop or intercropped with Vetiveria zizanioides. The experiment focused on flower stimulation and employed five treatments: a control group, Paclobutrazol (1,000 g/100 liters of water), Potassium chlorate (100 g/100 liters of water), Phosphorous KMP (250 g/100 liters of water), and leaf thinning. The data revealed that Jatropha curcas planted in intercropped conditions with Vetiveria zizanioides exhibited superior growth and higher seed yield compared to the sole crop. The application of Paclobutrazol resulted in leaf curl, shorter inflorescence, shorter fruit pedicel, and ultimately, higher seed yield compared to the control group. On the other hand, Potassium chlorate stimulated flower production in Jatropha curcas but also led to leaf curl and reduced seed yield due to its toxic effects. The recommended technique for achieving increased seed yield and reducing the number of harvesting cycles involved intercropping Jatropha curcas with Vetiveria zizanioides and applying Paclobutrazol through spraying, as observed in the experiment. สาระสังเขป: การเพิ่มผลผลิตและควบคุมความสม่ำเสมอของผลแก่สบู่ดำ ดำเนินการทดลองตั้งแต่เดือนตุลาคม 2549 ถึง 30 กันยายน 2552 ที่บริเวณสระน้ำพระรามเก้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โดยใช้พื้นที่จำนวน 2 ไร่ เป็นดินชุดรังสิต มีความเป็นกรดสูง ซึ่งได้ทำการปรับความเป็นกรด-เบส ด้วยการใส่ปูนมาร์ล และปรับความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยใส่ปุ๋ยคอก จากนั้น ทำการปลูกสบู่ดำโดยใช้ระยะปลูก 1x 2 เมตร มีการปลูก 2 ลักษณะ คือ การปลูกสบู่ดำร่วมกับแฝกและปลูกสบู่ดำเป็นพืชเดี่ยว ร่วมกับวิธีการเร่งการออกดอก 5 วิธี คือ แปลงควบคุมให้สารพาโคลบิวทราโซล (1,000 กรัม ต่อ น้ำ 100 ลิตร), โพแทสเซียมคลอเรต (100 กรัม ต่อ น้ำ 100 ลิตร), ปุ๋ยฟอสฟอรัส MKP (250 กรัม ต่อ น้ำ 100 ลิตร) และการปลิดใบ ผลการศึกษาพบว่า การปลูกสบู่ดำร่วมกับแฝก ทำให้สบู่ดำมีการเจริญเติบโตดีและให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกสบู่ดำเป็นพืชเดี่ยว การให้สารพาโคลบิวทราโซลทำให้ผลผลิตสบู่ดำสูงขึ้น ทำให้ใบที่แตกขึ้นใหม่มีลักษณะขอบใบหงิก ช่อดอกและช่อผลสั้นกว่าแปลงควบคุม, การให้สารโพแทสเซียมคลอเรตสามารถเร่งการออดอกของสบู่ดำ แต่เป็นพิษต่อใบ ทำให้ใบอ่อนมีลักษณะใบหงิก ผลผลิตต่ำ, และพบว่า การปลูกสบู่ดำร่วมกับแฝกแล้วให้พาโคลบิวทราโซลเป็นแนวทางหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตสบู่ดำให้สูงขึ้น และมีจำนวนครั้งของการเก็บเกี่ยวน้อยกว่าแปลงควบคุม, ซึ่งมีผลทยอยแก่ตามธรรมชาติ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300