การพัฒนาระบบปลูก เพิ่มปริมาณสารสำคัญและคัดเลือกสายพันธุ์บัวบกที่มี เหมาะสมรายภูมิภาค= Cultivation system of appropriated centella (centella asiatica l.) varieties and their triterpenoid enhancement Anan Piriyaphattarakit [et al.]

โดย: Anan Piriyaphattarakit
ผู้แต่งร่วม: Anan Piriyaphattarakit | Ponkamon Ruplort | Kanjapat Mekarun | Mariya Sankeaw | Nattapong Chanchula | Khanok-on Amprayn | Sayun Phansomboon | Sukhumaporn Saeng-ngam | อนันต์ พิริยะภัทรกิจ | พรกมล รูปเลิศ | กาญจพรรษ เมฆอรุณ | มารียาห์ แสนแก้ว | ณัฐพงค์ จันจุฬา | กนกอร อัมพรายน์ | สายัญ พันธ์สมบูรณ์ | สุขุมาภรณ์ แสงงาม
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 65-21, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 97 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.65-20 การพัฒนาระบบปลูก สายพันธุ์ที่เหมาะสม และการเพิ่มปริมาณสารสำคัญในบัวบกหัวเรื่อง: บัวบก | Asiaticosidesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: The Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) has undertaken an initiative to cultivate various varieties of Centella asiatica (L.) and to enhance the production of triterpenoids. A total of 15 areas in Thailand, including commercial cultivation sites and natural resources, were surveyed to collect Centella asiatica specimens. The provinces included are Loei, Rayong, Kalasin, Ubon Ratchathani, Samut Prakan, Buriram, Nonthaburi, Khon Kaen, Chiang Mai, Nakhon Pathom, Nan, Chiang Rai, Nong Bua Lamphu, Nakhon-Si Thammarat, and Prachinburi. The study aimed to determine the content of Asiaticosides in the different species of Centella asiatica collected and cultivated in Pathum Thani province The results of the study showed that 5 species of Centella asiatica, originating from Nakhon Si Thammarat, Rayong, Nakhon Pathom, Ubon Ratchathani, and Prachinburi, had the highest concentration of Asiaticosides. These species were then selected for propagation and cultivation in various areas including Chiang Mai, Chanthaburi, Nonthaburi, Kalasin, and Nakhon Si Thammarat. Notably, the Centella asiatica from Nakhon Si Thammarat province was found to have even higher Asiaticoside content when cultivated in different areas, compared to other cultivars. In the hydroponic cultivation system, it was found that all varieties of Centella asiatica showed good growth, particularly those sourced from Nakhon Pathom, Prachinburi, Rayong, and Ubon Ratchathani. However, Centella asiatica from Nakhon Si Thammarat showed lower growth and yield compared to the other species. It is important to note that the commercial cultivation of Centella asiatica in each area should be evaluated based on the growth of the cultivar, as some species may perform better in different soil and environmental conditions.สาระสังเขป: การพัฒนาระบบปลูก สายพันธุ์ที่เหมาะสม และการเพิ่มปริมาณสารสำคัญในบัวบก ทำการรวบรวมบัวบกจากพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทยมาปลูกเลี้ยงและทำการศึกษาทดลอง ณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ทั้งนี้รวบรวมบัวบกจากพื้นที่จังหวัดต่างๆ ซึ่งเป็นพื้นที่ปลูกเลี้ยงเพื่อการค้าและในแหล่งธรรมชาติในประเทศไทย จำนวน 15 แหล่งปลูก ได้แก่ จังหวัดเลย ระยอง กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี สมุทรปราการ บุรีรัมย์ นนทบุรี ขอนแก่น เชียงใหม่ นครปฐม น่าน เชียงราย หนองบัวลำภู นครศรีธรรมราช และปราจีนบุรี พร้อมทั้งศึกษาปริมาณสารเอเชียติโคไซด์ในบัวบกสายพันธุ์ต่างๆ ที่ได้จากการรวบรวมและปลูกเลี้ยงในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี โดยพบว่ามีจำนวน 5 สายพันธุ์ ได้แก่ บัวบกจากแหล่งปลูกจังหวัดนครศรีธรรมราช ระยอง นครปฐม อุบลราชธานี และปราจีนบุรี ที่ให้ปริมาณสายเอเชียติโคไซด์สูงที่สุด พร้อมทั้งคัดเลือกและขยายพันธุ์เพื่อไปปลูกเลี้ยงในพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ จันทบุรี นนทบุรี กาฬสินธุ์ และนครศรีธรรมราช รวมทั้งการปลูกเลี้ยงในระบบไฮโดรโพนิกส์ ซึ่งพบว่า บัวบกจากแหล่งปลูกจังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อนำไปปลูกเลี้ยงในพื้นที่ต่างๆ ส่งให้สายพันธุ์ดังกล่าวมีปริมาณสารเอเซียติโคไซด์มากกว่าสายพันธุ์อื่นๆ ส่วนการปลูกเลี้ยงด้วยระบบไฮโดรโพนิกส์ พบว่า บัวบกทุกสายพันธุ์มีการเจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบัวบกจากแหล่งปลูกจังหวัดนครปฐม ปราจีนบุรี ระยอง และอุบลราชธานี ตามลำดับ ส่วนบัวบกจากแหล่งปลูกจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตน้อยกว่าสายพันธุ์อื่นๆ อย่างไรก็ตามการปลูกเลี้ยงบัวบกเพื่อการค้าในแต่ละพื้นที่ควรมีการทดสอบการเจริญเติบโตของสายพันธุ์ เนื่องจากบางชนิดเจริญเติบโตในลักษณะดินและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300