อนุสิทธิบัตร เรื่องสูตรและกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์เจลสมานแผลจากน้ำผึ้งชันโรง = Research and development on wound healing treatment from by-product of stingless bee / Amonrat O'Reilly [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Amonrat O'Reilly
ผู้แต่งร่วม: Amonrat O'Reilly | Sarunya Laovitthayanggoon | Wipaporn Phatvej | Pataranapa Nimtrakul | Pattarawadee Kengkwasingh | Warakorn Songmuang | Boonruksa Gussayakorn | Boonruksa Gussayakorn | Boonruksa Gussayakorn | Worawan Tiatragoon | Worawan TiatragoonWorawan Tiatragoon | วิเชียร เขยนอก | ศิรินันท์ ทับทิมเทศ | Krittiya Thisayakorn | Ubon Rerk-am | Worawan Tiatragoon | Rattanasiri Giwanon | อมรรัตน์ โอไรลีย์ | ศรัญญา เหล่าวิทยางค์กูร | Warakorn Songmuang | วิภาพร พัฒน์เวช | ภัทรนภา นิ่มตระกูล | ภัทรวดี เก่งกว่าสิงห์ | วรากร สองเมือง | บุญรักษา กัสยากร | บุญรักษา กัสยากร | อุบล ฤกษอ่ำ | วรวรรณ เตียตระกูล | รัตนศิริ จิวานนท์
BCG: สมุนไพร TRM: สุขภาพ กลุ่มสมุนไพร Language: Thai ชื่อชุด: โครงการวิจัยที่ ภ.65-03/ย.4/รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลสิทธิบัตร : เลขที่คำขอ 2203002435 วันที่ยื่นขอ 16 กันยายน 2022 | การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เจลสมานแผลด้วยผลผลิตจากชันโรงหัวเรื่อง: ชันโรง | Stingless beeสาระสังเขป: Stingless bees (Trigona spp.), also known as "Chunnarong," are important pollinators for wild and cultivated plants in Thailand. Previous research has highlighted the potential benefits of stingless bee honey (SBH) and propolis for use in medicine, including their antioxidant, anti-inflammatory, and antimicrobial properties, as well as SBH's ability to heal wounds. This study investigated the pharmacological and toxicological effects of SBH, including anti-inflammatory effects, wound healing in rats, and toxicity tests on skin irritation and sensitization in rabbits and guinea pigs. The study found that the SBH, SHEA, and PEA by-products of stingless bees showed anti-inflammatory properties. These were then used in gel form for wound healing. The efficacy of SBHG, SHEAG, and PEAG was tested on rat excision wounds and all showed improvement in wound contraction and epithelialization. Histopathological analysis showed that wounds treated with SBHG had complete epithelialization and fewer inflammatory cells 14 days after treatment.SBHG was chosen for further toxicity tests and caused slight redness but no swelling on rabbit skin at application site. The skin reaction returned to normal after 24 hours, and no skin reaction was observed at 24 and 48 hours after application. In conculsion, topical application of stingless bee honey gel was shown to accelerate wound healing in rats. The gel may promote the proliferation phase of wound healing and was found to be non-toxic to rabbit and guinea pig skin. This supports further development as a natural wound healing treatment. สาระสังเขป: ชันโรง (stingless bee) เป็นแมลงในกลุ่มเดียวกับผึ้ง แต่มีขนาดเล็กกว่า และไม่มีเหล็กใน ผลผลิตจากชันโรง ได้แก่ น้ำผึ้ง (Stingless Bee Honey (SBH)) และชัน (propolis) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ และมีบทบาทสำคัญในกระบวนการหายของแผล การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ในการต้านการอักเสบของนำผึ้งชันโรง และสารสกัดต่างๆ จากผลผลิตของชันโรง หลังจากนั้นได้คัดเลือกน้ำผึ้งชันโรง (SBH) สารสกัดน้ำผึ้งชันโรง ethyl acetate (SHEA) และสารสกัดชันจากชันโรง ethyl acetate (PEA) เพื่อนำไปพัฒนาเป็นเจลสมานแผล และนำไปศึกษาฤทธิ์ของเจลสมานแผลในสัตว์ทดลอง และดำเนินการทดสอบความปลอดภัยของเจลสมานแผลจากผลผลิตจากชันโรงในลำดับต่อไป. จากการศึกษาวิจัยพบว่า SBH, SHEA และ PEA มีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้เป็นอย่างดี เมื่อนำ SBH, SHEA และ PEA ไปพัฒนาเป็นเจลสมานแผล และนำไปศึกษาฤทธิ์สมานแผลในสัตว์ทดลอง พบว่า เจลสมานแผลจากน้ำผึ้งชันโรงมีฤทธิ์สมานแผลในหนูแรทที่ทำให้เกิดแผลเปิด (excision wound) ที่บริเวณหลังหนูแรท โดยมีการหดตัวของแผลดีที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลตรวจชิ้นเนื้อของบาดแผลที่ได้รับเจลสมานแผลจากน้ำผึ้งชันโรง ซึ่งมีการสร้าง granulation tissue และ complete epithelialization การสร้างเส้นเลือดใหม่ (angiogenesis) และการสร้างเนื้อเยื่อพังผืด (fibroplasia) ร่วมกับการสร้างคอลลาเจน (collagen) ได้มากกว่ากลุ่มอื่นๆ หลังจากนั้นจึงได้นำเจลสมานแผลจากน้ำผึ้งชันโรงมาทดสอบการก่อการระคายเคืองผิวหนังกระต่ายและการก่อการแพ้ต่อผิวหนังหนูตะเภา พบว่า ผิวหนังกระต่ายมีอาการแดงเล็กน้อยแต่ไม่พบการบวมของผิวหนัง ซึ่งอาการผิดปกติของผิวหนังดังกล่าวหายไปภายใน 24 ชั่วโมง และเจลน้ำผึ้งชันโรงไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ต่อผิวหนังในหนูตะเภา. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เจลสมานแผลด้วยผลผลิตจากชันโรงครั้งนี้ พบว่า เจลน้ำผึ้งสมานแผลจากชันโรงมีฤทธิ์ในการสมานแผล ซึ่งคาดว่าจะช่วยส่งเสริมการหายของแผลในระยะ proliferation phase ในหนูแรท อีกทั้งเจลสมานแผลจากน้ำผึ้งมีความปลอดภัยสูงเมื่อทำการทดสอบในผิวหนังกระต่ายและหนูตะเภา ดังนั้น ผลผลิตจากชันโรง คือ น้ำผึ้งชันโรง จึงมีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่สามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการสมานแผล ซึ่งสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากชันโรงที่มีศักยภาพในการต่อยอดทางการตลาดในลำดับต่อไป.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300