การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไฟโคไซยานินจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวเพื่อเป็นส่วนผสมมูลค่าสูงในอาหารสัตว์น้ำ = Research and development of phycocyanin product from blue-green algae for high value ingredieins in aquatic animal feed / Nuanjun Jaisai [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Nuanjun Jaisai
BCG: จุลินทรีย์ TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: โครงการวิจัยที่ ภ.64-03/ย.4/รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์)ข้อมูลการพิมพ์: ปทุมธานี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 64 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลอนุสิทธิบัตร : การผลิตชีวมวลสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวเพื่อการผลิตไฟโคไซยานิน | โครงการวิจัยที่ ภ.64-03 ชุดโครงการเทคโนโลยีสาหร่ายเพื่อเพิ่มมูลค่าอาหารสัตว์น้ำเศรษฐกิจหัวเรื่อง: สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวสาระสังเขป: This research project was to investigate phytocyanin production from Spirulina sp. TISTR 8250 and Spirulina platensis TISTR 8666, which were taken from TISTR algae culture collection. The optimization was investigated in outdoor environment for 800-1,000 L. production. The results presented that S. platensis TISTR 8666 could be obtained with a high yield of dried-weight biomass which was cultured 14-28 days. The dried weight of biomass was more than 0.60 g/L. This biomass was taken for extraction and purification of phytocyanin, using 0.1 M potassium phosphate buffer (pH 7.0). The suitable proportion was 1:20 w/v that could be obtained phytocyanin 78%. This crude phytocyanin-extracted could be defined as phytocyanin food grade, due to the purity being more than 0.7 and contained 43.21% of total protein. Main amino acid of this crude extract was glutamic acid, aspartic acid and leucine, in the number of 4487.70 mg/100g, 3012.71 mg/100 g and 2655.52 mg/100g, respectively. This crude extract could not be detected Clostridium perfringens, Salmonella spp. Staphylococcus aureus and E. coli. Moreover, this crude extract presented lead and arsenic less than 0.5 mg/k and 0.3 mg/kg, respectively. Bioactivity studies found that phytocyanin crude extract presented phenol compound content 369.56 mgGAE. Antioxidants of DPPH and ABTS scavenging were affected with IC50 of 4.52 mg/mL and 7.80 mg/mL, respectively.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ ได้ศึกษาและคัดเลือกสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว 2 สายพันธุ์ จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ Spirulina sp. TISTR 8250 และ Spirulina platensis TISTR 8666 เพื่อศึกษาสายพันธุ์ที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตสำหรับผลิตไฟโคไซยานิน ระดับขยาย ปริมาตร 800-1,000 ลิตร กลางแจ้ง จากการศึกษาพบว่า Spirulina platensis TISTR 8666 มีศักยภาพในการเจริญเติบโตระดับขยาย กลางแจ้ง ซึ่งมีผลผลิตชีวมวลแห้ง มากกว่า 0.60 กรัมต่อลิตร ที่เวลาเพาะเลี้ยง 14-28 วัน และนำไปศึกษาการสกัดและการเพิ่มความบริสุทธิ์ไฟโคไซยานิน ได้อัตราส่วนการสกัดที่เหมาะสมอยู่ที่ 1:20 w/v ในทำละลายโพแทสเซียมฟอสเฟต บัฟเฟอร์ (pH 7.0) ที่ความเข้มข้น 0.1 M ให้ผลผลิตสารสกัดหยาบไฟโคไซยานิน 78 % ของน้ำหนักแห้ง ซึ่งมีความบริสุทธิ์เทียบเท่ากับไฟโตไซยานินเกรดอาหารเนื่องจากอัตราส่วนความบริสุทธิ์ของไฟโตไซยานิน มากกว่า 0.7 และมีปริมาณโปรตีนรวม 43.21 % มีกรดอะมิโนหลัก คือ กรดกลูตามิก ปริมาณ 4487.70 mg/100g กรดแอสพาร์ติด มีปริมาณ 3012.71 mg/100 g และ ลิวซีน มีปริมาณ 2655.52 mg/100g เมื่อนำไปตรวจหาการปนเปิ้อนต่อเชื้อก่อโรคไม่พบการปนเปื้อนต่อเชื้อ Clostridium perfringens, Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ E. coli นอกจากนี้สารสกัดหยาบไฟโคไซยานิน มีปริมาณตรวจพบตะกั่วน้อยกว่า 0.5 mg/kg และสารหนูน้อยกว่า 0.3 mg/kg เมื่อทำการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ พบว่ามีสารประกอบรวมฟีนอล
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300