การวิจัยและพัฒนาไขจากอ้อยเพื่อประยุกต์ใช้ในงานทางทันตกรรม= Development of sugarcane wax for dental application / Supaporn Lekhavat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Supaporn Lekhavat
ผู้แต่งร่วม: Supaporn Lekhavat | Pornpen Siridumrong | Panita Thaveethavorn | Ubolwanna Srimongkoluk | สุภาภรณ์ เลขวัต | พรเพ็ญ ศริิดำรง | ปณิตา ทวีถาวร | อุบลวรรณา ศรีมงคลลักษณ์
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: สุขภาพ กลุ่มวัสดุทางการแพทย์ Language: Thai ชื่อชุด: โครงการวิจัยที่ ภ.64-05/ย.2/รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 84 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลสิทธิบัตร | โครงการวิจัยที่ ภ.64-05 นวัตกรรมสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์พลอยได้ในโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาลเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันหัวเรื่อง: อ้อยสาระสังเขป: Sugarcane is one of the most important economic crops in Thailand and the country was ranked as the world's second largest exporter. Over the past decade, utilization of by-products such as bagasse, molasses and filter cake have been studied, in order to add value to the product, especially filter cake which contains natural wax. In this research, the sugarcane wax from filter cake was extracted using the simple methods to provide the high yield and quality of the wax for further use in dental applications. Physical, thermal and biological properties of extract wax were examined. The results showed that extraction temperature exhibited the highest contribution for the obtained yield. A high solid to liquid ratio and a low temperature of extraction resulted in low quality of sugarcane wax in terms of melting and thermal degradation temperature. The highest extraction efficiency could be achieved at optimum parameter condition using 1g/15ml of solid to liquid ratio, 70°C of extraction temperature and 6 hrs of extraction time. The obtained sugarcane wax using n-hexane for 2 hrs was then fabricated to form a dental wax by blending with paraffin, beeswax, carnauba wax, synthetic beeswax, crystal, with and without hard PE wax and soft PE wax with different blending weight ratios. It was found that no. 44 sample contained soft PE wax, no. 333 and no. 3333 with hard PE wax contained 20 wt% of sugarcane wax extract showed the onset of melting temperature in the range of 64-68°C. The developed dental wax has higher melting temperature than that of commercial pink wax having the value at 61°C. The developed dental wax showed glossy surface than that of commercial wax. The biological result revealed that the percentage of cell viability tested for the wax extracted was greater than 70% within 24 hrs of the test indicating the non-toxicity character of the developed wax as well as the commercial pink waxสาระสังเขป: อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยซึ่งมีการผลิตน้ำตาลจากอ้อยส่งออกเป็นอันดับสองของโลก หลายสิบปีที่ผ่านมามีการนำผลิตภัณฑ์พลอยได้ที่เกิดจากกระบวนการผลิตน้ำตาล เช่น ชานอ้อย กากน้ำตาล กาก หม้อกรอง มาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กากหม้อกรองซึ่งมีไขธรรมชาติ โครงการวิจัยนี้ ทำการศึกษาเทคนิคการสกัดไขจากอ้อยสำหรับใช้ในงานทางทันตกรรม และทำการทดสอบสมบัติทางกายภาพ ทาง ความร้อนและทางชีวภาพ ผลการศึกษาพบว่าอุณหภูมิในการสกัดมีผลต่อปริมาณผลผลิต จากอุณหภูมิการ หลอมเหลวและอุณหภูมิการสลายตัวทางความร้อน พบว่าอัตราส่วนของกากหม้อกรองและตัวทำละลายที่สูงและ อุณหภูมิการสกัดที่ต่ำส่งผลให้คุณภาพของไขที่สกัดได้ต่ำ และสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการสกัดคือ ที่อัตราส่วน ของแข็งต่อของเหลวเท่ากับ 1 กรัม : 15 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง. เมื่อนำไขอ้อยที่สกัดได้ด้วย n-hexane เป็นเวลา 2 ชั่วโมง ผสมกับองค์ประกอบอื่นได้แก่ พาราฟิน ไขผึ้ง ไข คาร์นอบา ไขผึ้งสังเคราะห์ คริสตัล ที่มีหรือไม่มีไขพอลิเมอร์ชนิดแข็งและนิ่ม เป็นต้น ที่อัตราส่วนต่างๆ องค์ประกอบและปริมาณต่างๆ พบว่าที่สูตรแผ่นไขอ้อย สูตร No. 44 สูตรแผ่นไขอ้อยแบบนิ่ม สูตร No. 333 และ แผ่นไขอ้อยแบบแข็ง No. 3333 โดยมีองค์ประกอบของไขอ้อยที่สกัดได้อยู่ในสูตร 20 เปอร์เซ็นต์ จะพบว่าเมื่อไขอ้อย ที่สกัดได้นำมาผสมกับองค์ประกอบอื่นสามารถทำให้สมบัติอุณหภูมิเริ่มหลอมลดลงอยู่ในช่วงที่ 64-68 องศา- เซลเซียส แผ่นไขอ้อยที่ผลิตได้พบว่าจะมีอุณหภูมิเริ่มหลอมสูงกว่าแผ่นไขอ้อยทางการค้า (Pink wax) (61 องศา- เซลเซียส) แต่ลักษณะทางกายภาพของแผ่นไขอ้อยที่ผลิตได้มีผิวเป็นมันวาวกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับไขอ้อยทาง การค้า การทดสอบสมบัติทางชีวภาพของแผ่นไขอ้อยในสูตรต่างๆ พบว่ามีอัตราการรอดของเซลล์มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแสดงถึงสมบัติทางชีวภาพที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ เช่นเดียวกับวัสดุพิมพ์ฟันที่จำหน่ายทางการค้า Pink wax.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300