การผลิตน้ำมันชีวภาพจากเศษวัสดุปาล์มน้ำมันเหลือทิ้งด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล= Bio-oil production of oil palm wastes with hydrothermal process / Amornrat Suemanotham [et al.]
โดย: Amornrat Suemanotham
ผู้แต่งร่วม: Amornrat Suemanotham
| Lalita Attanatho
| Yoothana Thanmongkhon
| Panida Thepkhun
| Teerawit Laosombat
| Waranyoo Phondet
| อมรรัตน์ สื่อมโนธรรม
| ลลิตา อัตนโถ
| ยุทธนา ฐานมงคล
| พนิดา เทพขุน
| ธีรวิทย์ เหล่าสมบัติ
| วรัญญู พลเดช
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 59-26, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 89 p. : table, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.59-26 การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากของเสียในอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซลสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: This research focused on the utilization of oil palm industry residues to produce biofuels such as crude bio-oil or bio-char using hydrothermal process. This process is a thermal decomposition to convert the biomass with high moisture content into liquid fuels, called crude bio-oil together with solid product (bio-char) and non-condensable gases. The experiments were carried out in a 500 mL high pressure reactor. The effect of operating parameters including types of oil palm wastes (empty fruit bunch, palm fiber, palm shell and decanter cake), reaction temperatures (160-200 ºC and 280-320 ºC) and reaction times (30 and 60 minutes) on product yield and product distribution were investigated. Empty fruit bunch provided the highest crude bio-oil yield whereas palm shell produced the maximum bio-char yield compared to another biomass. An increase of reaction temperature led to high crude bio-oil yield and low bio-char yield. The highest crude bio-oil yield from empty fruit bunch of 22 wt.% was found at 280 ºC. The results indicated that the reaction time had less significant effect on the crude bio-oil and bio-char yield compared to reaction temperature. The major components of the crude bio-oil contained mostly phenolic compounds (280-320ºC) and the minor components were aldehydes, ketones and aromatic compounds. The obtained bio-char had higher carbon content (76%) and higher heating value (30 MJ/kg) compared to feedstock. In conclusion, hydrothermal process can improve the quality of biomass wastes for using as solid fuel as well.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล ซึ่งเป็นกระบวนการแปรรูปชีวมวลที่มีความชื้นสูงให้เป็นเชื้อเพลิงเหลวที่เรียกว่า น้ำมันดิบชีวภาพ และเชื้อเพลิงแข็ง (ไบโอชาร์) และแก๊สสังเคราะห์ โดยทำการทดลองด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนทนความดันสูงขนาด 500 มิลลิลิตร ในห้องปฏิบัติการ โดยทำการศึกษาผลของชนิดของชีวมวล (ทะลายปาล์มเปล่า, เส้นใยปาล์ม, กะลาปาล์ม และกากสลัดจ์) อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา (160-200 และ 280-320 องศาเซลเซียส) และระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา (30 และ 60 นาที) ที่มีต่อร้อยละผลได้และองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น จากผลการทดลองพบว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ผลได้ของน้ำมันดิบชีวภาพสูงขึ้นแต่ผลได้ของ ไบโอชาร์ลดลง โดยที่อุณหภูมิ 280 องศาเซลเซียส มีผลได้ของน้ำมันดิบชีวภาพจากทะลายปาล์มมากที่สุดเท่ากับร้อยละ 22 โดยน้ำหนัก สำหรับการเพิ่มเวลาในการทำปฏิกิริยาส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อผลได้ของน้ำมันดิบชีวภาพและไบโอชาร์ น้ำมันดิบชีวภาพมีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบฟีนอลิก และองค์ประกอบรองคือ แอลดีไฮด์ คีโตน และสารประกอบแอโรมาติก ส่วนไบโอชาร์จากกระบวนการไฮโดรเทอร์มีปริมาณของคาร์บอนเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 76) และค่าความร้อนเพิ่มขึ้น (30 เมกะจูลต่อกิโลกรัม) ทำให้มีศักยภาพในการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงแข็ง
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้
There are no comments on this title.