การบำบัดน้ำชะขยะในบ่อขยะด้วยกระบวนการโคแอกกูเลชั่นร่วมกับเฟนตันและการนำกากตะกอนไปใช้ประโยชน์ = The research and development for landfill leachate and waste water treatment by coagulation via fenton and sludge utilization / Rewadee Anuwattana [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Rewadee Anuwattana [et al.]
ผู้แต่งร่วม: Rewadee Anuwattana | Songkiate Roddang | Patthanant Natpinit | Sunantha Laowansiri | Pattamaphorn Phungngamphan | Narumon Soparatana | Supinya Suthima | Pratan Pothisawad | Saroj Klangklongsab | Worapong Pattayawan | Atiporn Jinpayoon | เรวดี อนุวัฒนา | ทรงเกียรติ รอดแดง | พัทธนันท์ นาถพินิจ | สุนันทา เลาวัณย์ศิริ | ปัทมาพร พ่วงงามพันธุ์ | นฤมล โสภารัตน์ | สุภิญญา สุทธิมา | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | สาโรจน์ กลางกองสรรพ | วรพงษ์ พัทยาวรรณ | อติพร จินประยูร
BCG: สิ่งแวดล้อม TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม ชื่อชุด: Res. Proj. no. 64-01, Sub Proj. no. 2; Rep. no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 130 หน้า tables, ill. ; 30 cm. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลสิทธิบัตรหัวเรื่อง: การบำบัดน้ำชะขยะ | waste water treatmentสาระสังเขป: The objective of this research project was to study the efficiency of leachate treatment by coagulation with the Fenton process by using coagulants that synthesize from agricultural waste and industrial waste to developing a model for the management and reduction of pollution from landfill leachate and coastal including leachate through anaerobic or aerobic wastewater treatment systems. The study of optimal conditions for the synthesis of coagulant from agricultural waste and industrial waste was used to investigate the efficiency of leachate treatment by coagulation with the Fenton process founded that the optimum condition for the synthesis of coagulant can be fused with the zeolite, bentonite, Aluminum chloride, ferric chloride and sodium hydroxide and crystallized by the hydrothermal process at 80oC for 1 h. To study the efficiency of leachate treatment by using the coagulation with Fenton process, it was found that the efficiency of leachate treatment using the Fenton and coagulation process was better than coagulation and Fenton process. It was shown that the coagulation with the Fenton process could treat the leachate from old landfills and coastal landfills including the wastewater from anaerobic or aerobic wastewater treatment process. The effective treatment for COD, ammonia, phosphate, turbidity and total dissolved solids were as follows: the treatment efficiency of old landfills leachate showed in the percentage of 78, 83.48, 100, 7.47 and 99.94, respectively. In addition, the coagulation with the fenton process could also treat the wastewater from an anaerobic wastewater treatment system. The treatment efficiency of COD was 80.95% and could completely treat 100% of phosphate in wastewater. The coagulation with the fenton process could remove the color in the wastewater of the water collection system (EQ), the aeration system (SBR) and old landfills leachate by 95.5, 93.4 and 96.2 %, respectively. It could be reused for more than 3 cycles. The sludge from Fenton and coagulation process could be produced for the paving block. สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำชะขยะด้วยกระบวนการ โคแอกกูเลชั่นร่วมกับเฟนตันโดยใช้สารเร่งตกตะกอนจากธรรมชาติหรือของเสียอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาสู่ต้นแบบการจัดการและลดมลพิษจากน้ำชะขยะทั้งบ่อขยะบกและบ่อขยะชายฝั่ง น้ำชะขยะที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศหรือเติมอากาศ. จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์สารเร่งตกตะกอนจากของเสียภาคการเกษตรร่วมกับของเสียภาคอุตสาหกรรม พบว่า สภาวะที่ดีที่สุดในการสังเคราะห์สารเร่งตะกอน สามารถทำได้โดยการหลอมร่วมระหว่างซีโอไลต์ เบนโทไนต์ สารประกอบชนิดอะลูมิเนียมคลอไรด์ เฟอร์ริกคลอไรด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ และตกผลึกด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เมื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำชะขยะด้วยกระบวนการโคแอกกูเลชั่นร่วมกับเฟนตัน พบว่า กระบวนการบำบัดน้ำชะขยะจากหลุมฝังกลบด้วยกระบวนการเฟนตันตามด้วยโคแอกกูเลชั่นให้ประสิทธิภาพสูง โดยสามารถบำบัดน้ำชะขยะได้ทั้งน้ำชะขยะจากหลุมฝังกลบ น้ำชะขยะจากบ่อขยะบริเวณชายฝั่ง ตลอดจนน้ำชะขยะที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศ โดยมีประสิทธิภาพในการบำบัดความสกปรก แอมโมเนีย ฟอสเฟต ความขุ่น และค่าของแข็งละลายน้ำของน้ำชะขยะจากบ่อขยะ คิดเป็นร้อยละ 78, 83.48, 100, 7.47 และ 99.94 ตามลำดับ นอกจากนี้กระบวนการเฟนตันร่วมกับโคแอกกูเลชั่นยังสามารถบำบัดน้ำชะขยะที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศ โดยมีประสิทธิภาพในการบำบัดค่าความสกปรก คิดเป็นร้อยละ 80.95 สามารถบำบัดฟอสเฟตในน้ำได้อย่างสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถบำบัดสีในน้ำเสียของระบบรวบรวมน้ำ (EQ), ระบบเติมอากาศ (SBR) และในบ่อน้ำชะขยะจากบ่อขยะเก่าได้ร้อยละ 95.5, 93.4 และ 96.2 ตามลำดับ อีกทั้งสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้มากกว่า 3 รอบ โดยกากตะกอนภายหลังจากการบำบัดด้วยวิธีเฟนตันร่วมกับโคแอกกูเลชั่นสามารถนำมาผลิตเป็นบล็อกปูพื้นได้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300