การบูรณาการกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพในสภาวะความดันสูงและกระบวนการAnaerobic Phased Solids (APS) ที่ใช้ของเสียทางการเกษตรและน้ำเสียที่มีของแข็งปนเปื้อนสูงเป็นวัตถุดิบ = Integration of Biogas production in Conditions of High pressure and the anaerobic phased solids (aps) using Agricultural waste and Waste water contaminated with High solids materials as feedstock/ Somchai Dararat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Somchai Dararat
ผู้แต่งร่วม: Somchai Dararat | Phattacharee Jaiaun | Niramai Traiyawong | Kittipong Charoenpornpithak | Napaporn Klaijieam | สมชาย ดารารัตน์ | พัทจารี ใจอุ่น | นิรามัย ไตรยวงศ์ | กิตติภณ เจริญพรพิทักษ์ | นภาพร คล้ายเจียม
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 62-05, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 66 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.62-05 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพคุณภาพสูงและการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการใช้พลังงานชีวภาพอย่างยั่งยืนหัวเรื่อง: Anaerobic Phased Solids (APS)สาระสังเขป: Lignocellulose material is waste from agricultural. That has a high solid organic materials In general, this raw material has 3 main components which are cellulose, hemicellulose and lignin. Has properties that resist microbial degradation which raw materials must using optimal pretreat process. For the enzyme from microorganisms in the hydrolysis and acidification process to be able react with cellulose and hemicellulose Which is a factor that affects the amount of biogas generation. From the study of corn pretreatment together with the process co -digester to increase the efficiency of biogas production. The result of study the pretreat the basic stage as milling corn stalk size 1-2 cm and co-digestion with excess sludge can produce biogas total 0.23. m3/kg VS removed when compared with that of 0.11 m3/kg VS removed from corn stalk that had not been pretreated. The result of application of wastewater to cassava pulp ratio 4: 6 by volume In a two-stage reactor for the Hydrolysis acidification tank by study organic loading rate as 532.8 kg Vs/day can produce biogas total 10 m3/day or produce biogas 0.6 m3/kg VS removed. Biogas component is 65% CH4, 24% CO2 and 1 % H2S. สาระสังเขป: วัตถุดิบประเภทลิกโนเซลลูโลสิกเป็นของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตร ที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูง โดยทั่วไปแล้ววัตถุดิบประเภทนี้มีองค์ประกอบหลัก 3 ชนิด ได้แก่ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน มีคุณสมบัติที่ต้านทานการย่อยสลายของจุลินทรีย์ ทำให้การนำวัตถุดิบ มาใช้ต้องมีขั้นตอนในการปรับสภาพให้เหมาะสม เพื่อเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในขั้นตอนการไฮโดรไลซิสและอะซิดิฟิเคชั่นสามารถเข้าทำปฏิกิริยากับเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการเกิดก๊าซชีวภาพ จากการศึกษาการปรับสภาพต้นข้าวโพดร่วมกับกระบวนการ co-digester เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพพบว่า ภายใต้สภาวะเดียวกัน การลดขนาดของต้นข้าวโพด ขนาด 1-2 เซนติเมตร หมักร่วมกับกากตะกอนจุลินทรีย์ สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้สูงสุด โดยสามารถผลิตได้ 0.23 ลูกบาศก์เมตร/กิโลกรัม VS ที่ถูกกำจัด และ 0.11 ลูกบาศก์เมตร/กิโลกรัม VS ที่ถูกกำจัด เมื่อเทียบข้าวโพดที่ไม่มีการปรับสภาพ. การประยุกต์ใช้อัตราส่วนน้ำเสียต่อกากมันสำปะหลัง 4 : 6 สัดส่วนโดยปริมาตร ในถังปฏิกิริยาแบบ two-stage ในส่วนของ ถังปฏิกิริยา Hydrolysis acidification โดยศึกษาที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 532.8 กิโลกรัม/ต่อวัน หรืออัตราการป้อนกากมัน 2 ตัน/วัน อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ 10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง หรือ 0.6 ลูกบาศก์เมตร/กิโลกรัม VS ที่ถูกกำจัด สัดส่วนก๊าซมีเทน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เท่ากับร้อยละ 65, 24 และ 1 ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300