การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์จากวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร= Research and Development of Effective Microorganism Utilization for Quality Improvement of Livestock food from Agricultural waste/ Rachain Visutthipat [et al.]

โดย: Rachain Visutthipat
ผู้แต่งร่วม: Rachain Visutthipat | Sayam Sinsawat | Siritham Singhtho | Phathan Photisawat | Supat Klongkanngan | Sutthirak Meeploy | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สยาม สินสวัสดิ์ | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | ศิริธรรม สิงห์โต | สุภัทร์ คล่องการงาน | สุทธิรักษ์ มีพลอย
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-03, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 50 p. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.49-03 การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์จากวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรหัวเรื่อง: จุลินทรีย์ | วัสดุเหลือทิ้งสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: The results from research and development of effective microorganism utilization for development of feed quality by using agricultural waste indicate that 3 strains of bacteria could produce Filter Paper cellulase FPase enzyme at various carbon sources and appropriate temperature for bacteria growth and cellulose degradation. Strain No.1 had highest enzyme activity and highest growth rate in sugar carbon source condition. For strain No.4, there was a high growth rate in sugar carbon source condition and highest enzyme activity in pineapple fruit residue carbon source condition. Moreover, strain No.5 had high growth rate in pineapple fruit residue carbon source, while strain No.1, 4 and 5 had highest growth enzyme activity at condition 40OC. For the growth rate study of Brahman crossbred ox (BCO), feed treatment No.2 that be inoculated TISTR microorganism for fermentation indicates that food conversion rate was higher than feed treatment No.1 and 3. Efficiency and increasing protein of feed treatment No.2 could increase BCO growth, which can be observed from feeding behavior of BCO. BCO had the feeding ability of each treatment of fermented feed higher than general silage. Moreover, increasing the protein ratio in feed treatment No.2 could increase feed conversion rate and decrease a problem of undersized beef cows in dry season, in which farmers can produce this quality fermented feed for cow feed reservation in feed deficiency duration สาระสังเขป: จากผลการศึกษาการวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรพบว่ามีแบคทีเรียจำนวน 3 สายพันธุ์ ที่มีความสามารถในการสร้างเอนไซม์ Filter Paper cellulase (FPase) ได้ดี โดยทำการผันแปรแหล่งคาร์บอน และอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญและการย่อยสลายเซลลูโลส ซึ่งพบว่าสายพันธุ์ที่ 1 มีประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ดีที่สุด มีการเจริญได้ดีที่สุด เมื่อเลี้ยงด้วยแหล่งอาหารที่มีน้ำตาลทรายเป็นแหล่งคาร์บอน รวมทั้งสายพันธุ์ที่ 4 มีการเจริญได้ดี และมีประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ย่อยสลายดีที่สุด เมื่อเลี้ยงในอาหารที่มีน้ำตาล และดีที่สุดเมื่อเลี้ยงในอาหารที่มีกากสับปะรด และในสายพันธุ์ที่ 5 มีการเจริญเติบโตที่ดี เมื่อเลี้ยงในสารอาหารที่มีกากสับปะรดเป็นแหล่งคาร์บอน โดยเชื้อรหัส 1, 4 และ 5 สามารถเจริญและมีประสิทธิภาพการทำงานที่ดีที่สุด เมื่ออยู่ในอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส. ในส่วนอัตราการเจริญเติบโตของโคลูกผสมบราห์มันเพศผู้ สูตรอาหารหมักที่ 2 หมักโดยใช้จุลินทรีย์ วว. ร่วมในการหมัก โคมีอัตราการแลกเปลี่ยนเนื้อและมีการเจริญเติบโตมากกว่าการเลี้ยงด้วยสูตรที่ 1 และ 3 จากประสิทธิภาพของสูตรอาหารหมักที่ 2 และโปรตีนที่เพิ่มขึ้นทำให้โคมีการเจริญเติบโตดี ซึ่งสังเกตได้โดยดูจากพฤติกรรมการกินของโคที่ทดลอง โดยในโคที่ให้กินอาหารหมักทุกสูตร โคจะมีความสามารถในการกินอาหารหมักได้เป็นอย่างดีมากกว่าอาหารหยาบธรรมดา และอัตราส่วนของโปรตีน มีเพิ่มมากขึ้นในสูตรอาหารที่ 2 ทำให้โคมีอัตราการแลกเปลี่ยนเนื้อได้มากขึ้นและลดปัญหาโคแคระแกร็นได้ในช่วงหน้าแล้งและเกษตรกรเองยังสามารถสำรองอาหารที่มีคุณภาพไว้ใช้ยามขาดแคลนได้
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300