การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอสมุนไพรสบู่เลือดบอระเพ็ดพุงช้าง และแป๊ะตำปึง = The study on dna fingerprint of stephania spp. and gynura procumbens (lour.) merr / Ittirit Ungvichian [et al.] (CONFIDENTIAL)
โดย: Ittirit Ungvichian
ผู้แต่งร่วม: Ittirit Ungvichian
| Somnuk Chaidaroon
| Kanlaya Rattanathawornkiti
| Jamlonglak Ruangwatcharaporn
| Rawat Suwimon
| Winai Supatnakul.
| อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร
| สมนึก ชัยดรุณ
| กัลยา รัตนถาวรกิตติ
| จำลองลักษณ์ เรืองวัชราภรณ์
| เรวัต สุวิมล
| วินัย สุพัฒนกุล
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-22, Sub Proj. no. 4; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 รายละเอียดตัวเล่ม: 112 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.49-22 พัฒนาการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรสบู่เลือด บอระเพ็ดพุงช้าง และแป๊ะตำปึง โครงการย่อยที่ 4 พัฒนาการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรสบู่เลือด บอระเพ็ดพุงช้าง และแป๊ะตำ รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์) การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอสมุนไพรสบู่เลือด บอระเพ็ดพุงช้าง และแป๊ะตำปึงสาระสังเขป: The surveying and samples collection of three kinds of medicinal plant namely Stephania pierrei, Stephania suberosa and Gynura procumbens had been carried out for the genetic diversity study purpose through AFLP DNA fingerprint. From the study, the sample could be divided into groups according to their genetic relationships. The medicinal plant, Stephania pierrei, collected from Tak, Phitsanulok, Nong Khai, Chiang Mai, Mukdahan, Lampang, Khon Kaen and Nakhon Ratchasima could be grouped as 4, 3, 14, 4, 4, 2, 13 and 6 groups, respectively. The samples of Stephania suberosa from each province area namely Nong Khai, Tak, Prachuap Khiri Khan and Nakhon Ratchasima could be divided into 12, 2, 2 and 4 groups, respectively. For the Stephania suberosa seedlings which had been sowed from the open-pollinated seeds showed the segregation of genetic diversity and could be divided into 4 groups, while the seedling from self-pollinated seeds could be divided into 3 groups. For the Gynura spp., the total of 12 samples which had been collected from several areas, could be divided into 2 groups.สาระสังเขป: จากการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างสมุนไพรจำนวน 3 ชนิด สบู่เลือด บอระเพ็ดพุงช้าง และ แป๊ะตำปึงเพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม โดยใช้ลักษณะลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ด้วยเทคนิค Amplified Fragment Length Polymorphism (AFLP) พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มตามความสัมพันธ์ กันทางลักษณะลายพิมพ์ดีเอ็นเอเป็นกลุ่มๆ ตามแต่ละแหล่งที่มาของตัวอย่าง โดยสมุนไพรสบู่เลือดที่ เก็บรวบรวมตัวอย่างจากพื้นที่จังหวัดตาก, พิษณุโลก, หนองคาย, เชียงใหม่, มุกดาหาร, ลำปาง, ขอนแก่น และจังหวัดนครราชสีมา สามารถแบ่งได้เป็น 4, 3, 14, 4, 4, 2, 13 และ 6 กลุ่มตามลำดับ สำหรับบอระเพ็ดพุงช้างที่เก็บรวบรวมจากพื้นที่จังหวัดหนองคาย, ตาก, ประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัด นครราชสีมา สามารถจัดแบ่งเป็น 12, 2, 2 และ 4 กลุ่มตามลำดับ ในส่วนบอระเพ็ดพุงช้างที่ได้จาก การเพาะเมล็ดที่ได้จากการผสมแบบเปิด พบว่ามีการกระจายของสายพันธุ์และสามารถแบ่งกลุ่มได้ 4 กลุ่ม ส่วนของเมล็ดที่ได้จากการผสมแบบปิด (ผสมตัวเอง) สามารถแบ่งได้ 3 กลุ่ม สำหรับสมุนไพร แป๊ะตำปึง ที่รวบรวมจากพื้นที่ต่างๆ จำนวน 12 ตัวอย่าง สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม.
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้
There are no comments on this title.