การเพิ่มผลผลิตเซลลูโลสิกเอทานอลโดยใช้เทคโนโลยี In Situ Ethanol Recovery = Increasing cellulosic ethanol productivity by using in situ ethanol recovery technology / Vishnu Panphan [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Vishnu Panphan
ผู้แต่งร่วม: Vishnu Panphan | Suthkamol Suttikul | Thapparait Kanhanont | Kitti Orasoon | Iitthanit Inchan | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | สุทธิ์กมล สุทธิกุล | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | กิตติ อรสูญ | อิฎฐนิตย์ อินทร์จันทร์
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 59-27, Sub Proj. no. 2; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 รายละเอียดตัวเล่ม: 128 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.59-27 การพัฒนาเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์เพื่อการผลิตเซลลูโลสิกเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรอุตสาหกรรมหัวเรื่อง: เซลลูโลสิกเอทานอล | เกษตรอุตสาหกรรม | เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์สาระสังเขป: The purpose of this study aimed to increase productivity of cellulosic ethanol fermentation using in situ Ethanol Recovery technology. Vacuum technique was used for recovery some amount of ethanol in order to reduce ethanol concentration which could inhibit the yeast cells. The parameters of substrate concentration (20, 25, and 30%), temperature, vacuum pressure and recovery times were investigated. The result revealed that simultaneous saccharification and ethanol fermentation using in situ ethanol recovery technique could reduce the toxic of ethanol. The fermentation time (48 hours) could be reduced by this technique compared to those fermentation time of the process without in situ ethanol recovery technique (72 hours). Ethanol concentration of 12%(v/v) was obtained with no reducing sugar remaining in the fermentation system. In situ ethanol recovery could therefore be a technique to improve ethanol productivity by reduce fermentation times, with no significant difference in ethanol yield compared to those normal process.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ทำการศึกษาวิธีการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) กระบวนการผลิตเซลลูโลสิก เอทานอลโดยใช้เทคโนโลยีการกู้คืนเอทานอลจากถังหมัก (In Situ Ethanol Recovery, ISER) ด้วยวิธีการหมักภายใต้สภาวะสุญญากาศในช่วงที่ต้องกู้เอาเอทานอลออกมาจากถังปฏิกรณ์ชีวภาพ หรือ ถังหมักเพื่อลดสภาวะการหน่วงปฏิกิริยาของกระบวนการหมักอันเนื่องมาจากความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ซึ่งก็คือเอทานอล ชุดอุปกรณ์กู้คืนเอทานอลได้ถูกออกแบบมาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการกู้คืนเอทานอลออกมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลิตภาพของขบวนการผลิตและปัจจัยที่ใช้ในการศึกษาสภาวะคือ ความเข้มข้นของวัตถุดิบร้อยละ 20, 25 และ 30 อุณหภูมิ ความดัน และเวลา ซึ่งผลการทดลองหมักวัตถุดิบที่มีความเข้มข้นร้อยละ 25 แบบ Simultaneous Saccarification and Fermentation (SSF) เปรียบเปรียบเทียบกับระบบที่มีการติดติดตั้งระบบการกู้คืนเอทานอล (ISER) พบว่าระบบ ISER ทำการกู้คืนเอทานอลชั่วโมงที่ 30 และไปสิ้นสุดที่ชั่วโมงที่ 36 สามารถลดระยะเวลาการหมักจาก 72 ชั่วโมง เป็น 48 ชั่วโมง และค่าความเข้มข้นโดยรวมของเอทานอลที่ได้จากกระบวนการหมักที่ติดตั้งระบบ ISER เท่ากับร้อยละ 12 โดยปรอมาตรต่อปริมาตร โดยที่ไม่มีน้ำตาลรีดิวซ์เหลืออยู่ในระบบ ดังนั้นสรุปได้ว่า การติดตั้งระบบการกู้คืนเอทานอลสามารถเพิ่มอัตราการผลิตเอทานอลได้อย่างมีนัยสำคัญ แต่จะไม่มีนัยสำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของผลผลิต (Yield) ของเอทานอลจากระบบการหมัก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300