วิจัยและพัฒนากระบวนการปรับสภาพของน้ำมันวัตถุดิบที่จะป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตไบโอดีเซลแบบ multi feed stocks = Research and development on raw material oil pretreatment for multi feed stocks biodiesel production / Vishnu Punpan [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Vishnu Punpan
ผู้แต่งร่วม: Vishnu Punpan | Chanakan Puemchalad | Ekarat Vutivet | Nattawee Teerananont | Thapparait Kunhanont | Piyanan Srisiri | Kitti Orasoon | Jirous Siriniwatkul | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | ชนากานต์ เพิ่มฉลาด | เอกรัตน์ วุฒิเวทย์ | นัฐวี ตีรนานนท์ | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | ปิยนันท์ ศรีสิริ | กิตติ อรสูญ | จิรัสย์ สิริณิวัฒนกุล
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-22, Sub Proj. no. 2; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 รายละเอียดตัวเล่ม: 78 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.57-22 การผลิตไบโอดีเซลคุณภาพสูงสู่ชุมชนโดยใช้วัตถุดิบที่หลากหลายด้วยเทคโนโลยีสะอาดหัวเรื่อง: ไบโอดีเซล | multi feed stocks ส | น้ำมันสาระสังเขป: This research aimed to pretreat a variety of raw materials for biodiesel production such as waste cooking oil, crude palm oil and Jatropha oil, etc. Enhancement of the biodiesel production can be achieved by using a prototype developed for the pretreatment to obtain the desired quality of oil prior to entering the high performance biodiesel production plant. Generally, waste cooking oil is contaminated with solid sludge and water, which can be removed by filtration and evaporation. Feedstock with high content of free fatty acid can be treated by acid esterification where methanol reacts with given oil in the presence of sulfuric acid H2SO4. On the other hand, high amount of phosphorous in crude palm oil and Jatropha can result in gum formation. Degumming by the use of phosphoric acid (85 wt %) in the amount of 0.025% by weight and water in the amount of 30% and 5% for palm oil and Jatropha, respectively, and settling overnight after vigorously stirring at 400 rpm for 30 minutes with the temperature maintained in the range of 65-70C allows for effective separation of oil from solid residue. Alternatively, a dish separator could be used to improve yield and productivity as the processing time is reduced by more than 50%. This demonstration of the use of advanced equipment for biodiesel production can be further developed for commercial scale production.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทำการปรับสภาพน้ำมันวัตถุดิบที่มาจากแหล่งต่างๆ เช่น น้ำมันพืชที่ใช้แล้ว น้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันสบู่ดำ เป็นต้น โดยผ่านเครื่องต้นแบบที่ใช้ในการปรับสภาพน้ำมันวัตถุดิบเพื่อให้ได้ค่าตามกำหนดก่อนผ่านเข้าสู่กระบวนการผลิตไบโอดีเซลคุณภาพสูงซึ่งจะเป็นการเพิ่มศักยภาพในการกระบวนการผลิต พบว่าน้ำมันพืชที่ใช้แล้วส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องกากตะกอนและปริมาณน้ำที่ปนเปื้อนมาเท่านั้น สามารถกำจัดออกได้โดยการกรองและต้มระเหยน้ำ ค่ากรดที่เกินนั้นจะทำการลดกรดด้วยปฏิกิริยาเอสเทอร์ริฟิเคชัน โดยเติมกรดซัลฟิวริกผสมกับเมทานอล โดยใช้สัดส่วนที่ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมันและสำหรับน้ำมันดิบที่มาจากปาล์มและสบู่ดำจะมีค่าปริมาณฟอสฟอรัสค่อนข้างสูงส่งผลทำให้เกิดยางเหนียวจึงต้องทำการกำจัดยางเหนียวออก โดยการเติมกรดฟอสฟอริก ความเข้มข้นร้อยละ 85 ปริมาณร้อยละ 0.025 โดยน้ำหนักและน้ำในปริมาณร้อยละ 30 และ 5 โดยน้ำหนักสำหรับน้ำมันปาล์มดิบและสบู่ดำ ตามลำดับ ทำการกวนผสมที่ 400 รอบ/นาที เป็นเวลา 30 นาที ที่อุณหภูมิอยู่ในช่วง 65 ถึง 70 องศาเซลเซียส ปล่อยให้แยกชั้นตกตะกอนทิ้งไว้ข้ามคืน หรือส่งผ่านน้ำมันวัตถุดิบต่อไปยังเครื่องเหวี่ยงแยกน้ำมันแบบ dish separator ก็จะทำให้ได้ผลผลิต yield และผลิตภาพ productivity ของระบบสูงขึ้นเนื่องจากระยะเวลาในการผลิตที่ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จากเดิมซึ่งเป็นการนำอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนากระบวนการผลิตไบโอดีเซลเพื่อที่จะก้าวไปสู่เชิงพาณิชย์ต่อไป.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300