การพัฒนาการใช้ประโยชน์ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ผลพลอยได้จากโรงงานผลิตเอทานอล = Development of co2 utilization from by-product Of cassava ethanol plant / Teerapatr Srinorakutara [et al.]

โดย: Teerapatr Srinorakutara
ผู้แต่งร่วม: Teerapatr Srinorakutara | Vishnu Panphan | Theparit Kanhanont | Eakarat Wuttivej | Yutthasak Ratanasong | Wannaluk Buaban | Ussanee Panjamat | ธีรภัทร ศรีนรคุตร | เอกรัตน์ วุฒิเวทย์ | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | ยุทธศักดิ์ รัตนสงฆ์ | วรรณลักษณ์ บัวบาน | อุษณีษ์ ปัญจมาตย์
Language: Thai ชื่อชุด: ภ.45-12 , no.6 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 รายละเอียดตัวเล่ม: 54 p. ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.45-12 การพัฒนาการใช้ประโยชน์ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ผลพลอยได้จากโรงงานผลิตเอทานอลหัวเรื่อง: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ | เอทานอล | พลังงานเชื้อเพลิงสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: This research aimed to study the basic composition and economical possibility of carbon dioxide from continuous fermentation process using molasses as substrate. The results showed that carbon dioxide from this process was low toxicity. The concentration of hydrogen sulfide and phosphine compounds were less than 0.05 and 0.1 ppm v/v, respectively. However, the organic reducing substances were observed such as 48.0 ppm v/v Acetaldehyde, 0.4 ppm v/v Methanol, 8.5 ppm v/v Acetone, 2,397.3 ppm v/v Ethanol, 2.5 ppm v/v Isopropanol, 13.4 ppm v/v Ethyl Acetate, 27.2 ppm v/v t-Butanol, 6.0 ppm v/v n-Propanol, 50.8 ppm v/v Isobutanal and 0.4 ppm v/v n-Butanol. The results indicated that purification of carbon dioxide from the ethanol fermentation process was not difficult and convenient to detoxify because carbon dioxide from this process had low toxic compounds.สาระสังเขป: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากกระบวนการผลิตเอทานอลด้วยวิธีการหมักแบบต่อเนื่องโดยใช้กากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบ และความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ผลการศึกษา พบว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากกระบวนการหมักแบบต่อเนื่องมีลักษณะของความเป็นพิษต่ำ โดยจะพบสารประกอบ ไฮโดรเจนซัลไฟด์น้อยกว่า 0.05 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, สารประกอบฟอสฟีนมีปริมาณ น้อยกว่า 0.1 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร แต่จะพบสารในกลุ่มของสารออร์แกนิกรีดิวซิง เป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ แอซีทัลดีไฮด์ 48.0 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, เมทานอล 0.4 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, แอซิโทน 8.5 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, เอทานอล 2,397.3 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, ไอโซ-โพรพานอล 2.5 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, เอทิลแอซีเทต 13.4 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, ที-บิวทานอล 27.2 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, เอ็น-โพรพา-นอล 6.0 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, ไอโซบิวทานอล 50.8 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร, และ เอ็น-บิวทานอล 0.4 พีพีเอ็ม โดยปริมาตรต่อปริมาตร ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากกระบวนการหมักเอทานอลมีความบริสุทธิ์มีขั้นตอนที่น้อยและมีความสะดวกเนื่องจากมีสารประกอบที่มีความเป็นพิษอยู่ในปริมาณน้อยและสามารถกำจัดสิ่งเจือปนออกได้ง่าย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300