การวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสเพื่อเพาะในเขตพื้นที่ราบ = Research and development of mushroom strain in lentinus spp. for cultivation in lowland / Sawithree Pramoj Na Ayudhya [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Sawithree Pramoj Na Ayudhya
ผู้แต่งร่วม: สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา | ธนภักษ์ อินยอด | กัลยา รัตนถาวรกิติ | วันทนา สะสมทรัพย์ | ตันติมา กำลัง | Sawithree Pramoj Na Ayudhya | Tanapak Inyod | Tantima Kumlung | Kanlaya Ratanathawornkit | Wantana Sasomsub
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-02, Sub Proj. no. 2; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2019 รายละเอียดตัวเล่ม: 41 p. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.57-02 การวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์เห็ดและระบบการผลิตเห็ดเมืองหนาวในพื้นที่ราบเชิงพาณิชย์หัวเรื่อง: เห็ด | Mushroomสาระสังเขป: The study on development of mushroom stain in Lentinus spp. for cultivation in lowland with gamma radiation, which aim to improve edible mushroom species in Thailand. Five selected-strains were collected for development for high genetic variation. The experiment on mycelium's growth rate on mushroom spawn found that the sorghum spawn has the highest growth rate in significantly, but similar with spawn addition corn flour and rice bran. Study of 5 levels gamma radiation at 0, 10, 25, 50 and 75 KRad on Lentinus spp. strains, aim for higher yield than parent strain. Suspected mutant colonies by radiation were selected totally 715 isolates. To conform the potential of screened mutant, the mutant isolates were cultivated compare to 5 parent strains, it was apparent that 34 isolates of total 193 isolates still showed higher yield than parent strain. For statistical analysis, the radiation at 10 25 and 50 KRad were significant differences of productivity. Moreover, suspected mutants have more fruiting bodies than parent strains. สาระสังเขป: การวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสเพื่อเพาะในเขตพื้นที่ราบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างความหลากหลายให้แก่สายพันธุ์เห็ดรับประทานได้ในประเทศไทย ดังนั้นจึงได้มีการเก็บรวบรวม สายพันธุ์เห็ดสกุลดังกล่าวเพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรม และศึกษาความเป็นไปได้ที่จะปรับปรุงพันธุ์เห็ด ดังกล่าวเพื่อให้เพาะพันธุ์ได้ได้ผลดียิ่งขึ้นในเขตพื้นที่ราบภาคกลาง. ศึกษาสูตรอาหารเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดสกุล เลนไทนัส พบว่า ข้าวฟ่างเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดมากที่สุด แต่ ไม่แตกต่างจากข้าวฟ่างที่ผสมแป้งข้าวโพด หรือรำข้าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ. ศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้รังสีแกมมาเป็นวิธีการปรับปรุงพันธุ์ที่เหมาะสม โดยศึกษา รังสีแกมมา 5 ระดับ คือ 0, 10, 25, 50 และ 75 กิโลแรด ต่อเส้นใยเห็ดสกุลเลนไทนัส เพื่อการ พัฒนาสายพันธุ์ให้มีผลผลิตสูงขึ้นกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อเพาะเส้นใยเห็ดที่ได้รับการฉายรังสีระดับต่าง ๆ พบว่า ได้โคโลนีใหม่ที่คาดว่าจะกลายพันธุ์จำนวน 715 isolates และเมื่อนำสายพันธุ์เห็ดที่ได้จากการ ฉายรังสีจำนวน 193 isolates มาเพาะเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตกับสายพันธุ์เดิมจำนวน 5 สายพันธุ์ พบว่า มีเพียง 34 isolates ที่ให้ผลผลิตสูงกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่าผลผลิตที่ ได้จากเห็ดที่ได้รับการฉายรังสีที่ 10, 25 และ 50 กิโลแรด ให้ผลผลิตที่สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่าสายพันธุ์เห็ดที่ได้รับการฉายรังสีมีจำนวนดอกต่อก้อนสูงกว่าสายพันธุ์เดิม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300