การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนจากผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมประมงพื้นบ้าน = Research and development of dietary supplement containing pufas using byproduct from local fishing industries / Jirawat Eiamwat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Jirawat Eiamwat
ผู้แต่งร่วม: จิระวัฒน์ เอี่ยมวัฒน์ | อุบล ฤกษ์อ่่า | วิภาพร พัฒน์เวช | ศรัญญา เหล่าวิทยางค์กูล | อมรรัตน์ โอไรลีย์ | สุกิจ ข่าเปรื่องเดช | Jirawat Eiamwat | Ubon Rerk-Am | Wipaporn Phatvej | Sarunya Laovitthayanggoon | Amonrat O'Reilly | Sukit Kumprungdet
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 63-04, Sub Proj. no. 2; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2021 รายละเอียดตัวเล่ม: 60 p. 30 cm.หัวเรื่อง: ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสาระสังเขป: This research aimed to study the extraction of lipids from heads and shells of pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) and evaluated anti-hyperlipidemic activities of lipid extracts obtained. Lipids were extracted from freeze-dried shrimp heads using supercritical carbon dioxide (SC-CO2 ) at 350 bar, 45 °C and fresh shrimp shells by ethanol (EtOH). Lipid extract from shrimp head using SC-CO2 was found to have a high lipid content (95.1%), while lipid extract from shrimp shells by EtOH had a low lipid content (10.3%). The fatty acid compositions showed that SC-CO2 lipid extract and ethanolic lipid extract had PUFAs contents of 29.1 and 33.2%, respectively, predominated with linoleic (C18:2 n-6) (29.1 and 33.2%, respectively). The antihyperlipidemic activity in 3T3-L1 adipocyte cells showed that the ethanolic lipid extract reduced lipid accumulation without cytotoxicity and decreased triglyceride level. The anti-hyperlipidemic test in rats showed that the SC-CO2 lipid extract and ethanolic lipid extract reduced both cholesterol and triglycerides levels in experimental rats. This study only presents preliminary results. Further in-depth study of pharmaceutical mechanisms as well as toxicology testing and efficacy of lipid extracts of shrimp heads and shells are required to obtain more data to develop dietary supplements for people with hyperlipidemia.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการสกัดไขมันจากหัวและเปลือกกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) และทดสอบฤทธิ์ลดไขมัน ของสารสกัดไขมันที่ได้. ไขมันสกัดจาก หัวกุ้งขาวทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือสภาวะวิกฤต (SC-CO2 ) ที่ 350 บาร์, 45 °ซ และจากเปลือกกุ้งสดด้วย เอทานอล (EtOH) พบว่า สารสกัดไขมันจากหัวกุ้งขาวด้วย SC-CO2 มีปริมาณไขมันสูง (95.1%) ส่วน สารสกัดไขมัน จากเปลือกกุ้งขาวด้วย EtOH มีปริมาณไขมันต่ า (10.3%). จากการวิเคราะห์ องค์ประกอบกรดไขมัน พบว่า สารสกัดไขมัน จากหัวกุ้งขาวด้วย SC-CO2และสารสกัดไขมัน จาก เปลือกกุ้งขาวด้วย EtOH มีสัดส่วนของ PUFAs 29.1 และ 33.2% ตามล าดับ โดยมีlinoleic (C18:2 n-6) เป็นองค์ประกอบหลัก (22.5 และ 20.0% ตามลำดับ). การทดสอบฤทธิ์ลดไขมันใน เซลล์ไขมันชนิด 3T3-L1 พบว่า สารสกัดไขมันจากเปลือกกุ้งขาวด้วย EtOH สามารถลดการสะสม เซลล์ไขมัน โดยที่ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ และลดระดับ triglycerides. ในการทดสอบฤทธิ์ลด ไขมันในเลือดในหนูแรท พบว่าสารสกัดไขมัน จากหัวกุ้งขาวด้วย SC-CO2และสารสกัดไขมัน จาก เปลือกกุ้งขาวด้วย EtOH สามารถลดระดับไขมันทั้ง cholesterol และ triglycerides ในหนูทดลอง. อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้ยังเป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้น ยังต้องมีการศึกษากลไกทางเภสัชวิทยาในเชิงลึก รวมทั้งการทดสอบด้านพิษวิทยาและประสิทธิภาพของสารสกัดไขมันจากหัวและเปลือกกุ้งขาว เพื่อให้ มีข้อมูลสนับ สนุนผลการศึกษานี้ต่อการ น าไปใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสำหรับผู้มีภาวะ ไขมันในเลือดสูงต่อไป.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300