การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะชุมชน = Life cycle assessment on municipal waste management / Panida Thepkhun [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Panida Thepkhun
ผู้แต่งร่วม: Panida Thepkhun | Thanita Sonthisawate | Vishnu Panphan | Chanakan Permchalad | Piyanan Srisiri | พนิดา เทพขุน | ธนิตา สนธิเศวต | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | ชนากานต์ เพิ่มฉลาด | ปิยนันท์ ศรีศิริ
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 62-02, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2020 รายละเอียดตัวเล่ม: 63 p. tables, ill. ; 30 cm.หัวเรื่อง: ขยะ | Wasteสาระสังเขป: The waste management plan of Taldeaw subdistrict administration organization has the idea to integrate management systems, i.e. municipal waste and NIR system plastic sorting, wastewater management by ABR system and RDF production in order to achieve the target of waste management with sustainable scheme. This study emphasized on evaluation of environmental impacts during the waste management systems. Life Cycle Assessment (LCA) has been used as tool for evaluating the waste management system, i.e. sorting with plastic beam production, sorting plastic waste by NIR Vision with plastic flake production, and RDF production. The results showed that all waste management systems of Taldeaw subdistrict emitted high value of Marine aquatic ecotoxicity impact comparing to other categories. Moreover, the comparison of 4 waste management scenarios were studies which were 1) landfill, 2) landfill and incineration, 3) landfill and recycle plastic beam and flake, and 4) landfill, recycle plastic flake and RDF produced. The results showed that scenarios with recycle systems and RDF (scenario 4) production generated lowest environment impacts especially Photochemical oxidation category. Following by the scenario 3, all plastic waste recycled as plastic beam and flake, especially Abiotic depletion category. สาระสังเขป: ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน.ในประเทศไทยมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่มีการจัดการอย่างทุกหลักสุขาภิบาล ส่งผลให้ชุมชนได้รับผลกระทบในหลายด้าน แผนการจัดการขยะชุมชน อบต. ตาลเดี่ยว มีแนวคิดที่จะจัดการขยะมูลฝอยชุมชนภายใต้แนวคิดการจัดการการนำขยะไปใช้ประโยชน์กับขยะที่เกิดขึ้นในอบต. ตาลเดี่ยว อย่างครบวงจร และยั่งยืน งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากระบบการจัดการขยะภายใต้แผนการจัดการการนำขยะไปใช้ประโยชน์ ของอบต.ตาลเดี่ยว ประกอบด้วย ชุดคัดแยกขยะระบบกึ่งอัตโนมัติ เครื่องคัดแยกชนิดและสีพลาสติกด้วยระบบ NIR Vision และระบบผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากผลพลอยได้การคัดแยกขยะ (RDF) ด้วยวิธีการประเมินวัฎจักรชีวิต รวมทั้งการเปรียบเทียบรูปแบบการจัดารขยะ 4 รูปแบบ คือ 1) การฝังกลบ 2) การฝังกลบร่วมกับการเผา 3) การฝังกลบร่วมกับการจัดการรีไซเคิลพลาสติกเป็นพลาสติกเส้นและพลาสติกเกล็ด และ 4) การฝังกลบร่วมกับการจัดการรีไซเคิลพลาสติกเป็นพลาสติกเกล็ดและผลิตเชื้อเพลิง RDF ผลการศึกษาพบว่า ในกรณีที่ 4 ให้ผลกระทบสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยเฉพาะในกลุ่มผลกระทบด้านการการก่อตัวของสารออกซิเดชันโฟโต้เคมิคอล เนื่องจากการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการลดการผลิตพลาสติกและการใช้เชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้า รองลงมาได้แก่ การจัดการขยะโดยการรีไซเคิลพลาสติกทั้งหมดในรูปของพลาสติกเส้นและเกล็ด ในกรณีที่ 3 ให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยรองลงมา เนื่องจากการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการผลิตพลาสติกใหม่ ซึ่งในกรณีนี้ส่งผลดีต่อผลกระทบด้านการทำลายทรัพยากรมากที่สุด
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300