ผลของวิธีการบรรจุหีบห่อที่มีต่อคุณภาพเงาะสด = effect of packing methods on quality of fresh rambutan / Supoj Pratheepthingthong...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaimongkol, Somsak | Kamolratanakul, Anchalee | Maneesin, Pattra | Pratheepthinthong, Supoj | Sribubpa, Chavee | สมศักดิ์ ไชยมงคล | อัญชลี กมลรัตนกุล | สุพจน์ ประทีปถิ่นทอง | พัชทรา มณีสินธุ์ | ฉวี สีบุบผา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Thai Packaging Centre
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 32-08 Rep. no.7ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1993 รายละเอียดตัวเล่ม: 23 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ผลของวิธีการบรรจุหีบห่อที่มีต่อคุณภาพเงาะสดหัวเรื่อง: Fruit | Nephelium lappaceum | Packaging | Rambutanสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: สำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของเนื้อเงาะสด จากการบรรจุที่ต่างกัน 3 วิธี อันประกอบด้วยความความเป็นกรด-ด่าง, ค่าความหวาน, ค่าความเป็นกรด, ปริมาณน้ำตาลกลูโคส, ปริมาณน้ำตาลซูโครส, และปริมาณน้ำตาลฟรักโทส สรุปได้ว่าไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติแต่อย่างใด. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: Effect of packing methods on quality of fresh rambutan (Nephelium lappaceum Linn.) cvs, Rongrien was studied using 3 different packing methods (1) naked pack, (2) lining inside the package and wrapping rambutan fruits with perforated plastic film, having 8 holes per square inch, each hole had diameter of about 1.3 mm, and (3) cell pack using uncoated paperboard partition. The study was conducted by packing rambutan fruits in non ventilated corrugated fibreboard boxes, each containing 30 fruits and stored in cold room with controlled temperature of 14 C and 85 percent relative humidity. The results of the data analysis at 3, 6, 9, 12, 15 and 18 days of storage showed that the packing method of warpping by perforated plastic film provided better protection than the other tow methods in terms of less weight loss of fruit and less gross weight change of whole package and showed the significant difference at the confidence of 95 percent. The corresponded data concerning weight loss of fruit were 1.40, 2.10, 1.99, 2.61, 3.05 and 3.96 percent, and those concerning gross weight change were 0.51, 0.10, -0.30, -0.99, -1.48 and -2.56 percent respectively. Considering the effect of packing methods on general appearance of fruit which related to consumer acceptance, the difference among 3 different packing methods could not be noticed clearly. The appearance of rambutans packed by 3 different methods were all accepted at the same storage period of 12 days. All fruit samples were not accepted after being stored more than 12 days.สาระสังเขป: The chemical properties of rambutan flesh packed by 3 different methods were analysed. The properties included pH, degree Brix, acidity, glucose, sucrose and fructose. Results obtained showed no significant difference of the chemical analysis among the 3 different packing methods. Authorsสาระสังเขป: การศึกษาผลของวิธีการบรรจุเงาะสดพันธุ์โรงเรียน จำนวน 30 ผล ในกล่องกระดาษลูกฟูกที่ไม่เจาะช่องระบายอากาศ โดยใช้วิธีการบรรจุ 3 วิธีคือ (1) บรรจุผลเงาะเปล่าโดยไม่มีการหุ้มห่อด้วยวัสดุใดๆ, (2) บุภายในกล่องและห่อหุ้มผลเงาะไว้โดยไม่ปิดผนึกด้วยฟิล์มพลาสติกเจาะรูพรุน จำนวน 8 รูต่อตารางนิ้ว แต่ละรูมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.3 มม. และ (3) กั้นระหว่างผลเงาะด้วยกระดาษแข็ง แล้วนำไปเก็บรักษาไว้ในห้องเย็นที่ควบคุมสภาวะไว้ที่อุณหภูมิ 14oซ. และความชื้นสัมพัทธ์ 85%. เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่ระยะเก็บ 3, 6, 9, 12, 15 และ 18 วัน พบว่าวิธีการบรรจุแบบใช้ฟิล์มเจาะรูพรุนบุภายในกล่องและห่อผลเงาะไว้ สามารถลดการสูญเสียน้ำหนักของผลเงาะสด และลดการสูญเสียน้ำหนักรวมของทั้งกล่องได้ดีกว่าวิธีการบรรจุผลเงาะเปล่าลงกล่อง และวิธีใช้แผ่นกระดาษแข็งกั้นระหว่างผลเงาะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%, โดยมีการสูญเสียน้ำหนักของผลเงาะเป็น 1.40, 2.10, 1.99, 2.61, 3.05 และ 3.96%, และการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักรวมของกล่องเป็น 0.51, 0.10, -0.30, -0.99, -1.48 และ -2.56% ตามลำดับ. แต่เมื่อพิจารณาลักษณะภายนอกของผลเงาะ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สัมพันธ์ต่อการยอมรับของผู้บริโภค ไม่พบผลแตกต่างอย่างชัดเจนจากการบรรจุที่ต่างกัน 3 วิธีนั้น กล่าวคือ ผลเงาะที่บรรจุด้วยวิธีต่างกันทั้ง 3 วิธี ยังอยู่ในสภาพเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคที่อายุการเก็บนาน 12 วันเท่ากัน, และที่ระยะเก็บนานกว่านี้ตัวอย่างเงาะทั้งหมดจะไม่เป็นที่ยอมรับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1993/936
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1993/936-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300