อนุสิทธิบัตรเรื่อง ผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตสารสกัดจากหัวหอมเคลือบด้วยสารสกัดจากขิงหรือชาเขียว = อนุสิทธิบัตรเลขที่ 1601005379 Supaporn Lekhavat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Supaporn Lekhavat
ผู้แต่งร่วม: สุภาภรณ์ เลขวัต | อุบลวรรณา ศรีมงคลลักษณ์ | ปนิดา บรรจงสินศิริ | ธัญวรัตน์ กาจสงคราม | เนาวพันธ์ หนูจุ้ย | Supaporn Lekhavat | Ubolwanna Srimongkoluk | Panida Banjongsinsiri | Tanwarat Kajsongkram | Nowwapan Noojuy | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
BCG: สารสกัด TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-04, Sub proj. no. 1 ;no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2020 รายละเอียดตัวเล่ม: 100 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง การวิจัยและพัฒนาการกักเก็บสารออกฤทธิ์ชีวภาพด้วยสารผสมโปรตีนและโพลีแซคคาไรด์โดยวิธีอบแห้งแบบพ่นฝอยร่วมกับฟลูอิไดซ์เบด | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:พัฒนาผลิตภัณฑ์ /ส่วนผสมอาหารฟังชั่น ผลิตภัณฑ์ขิงหรือชาเขียว การนำไปต่อยอด:1. เทคโนโลยีการผลิตส่วนประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ 2.ส่วนผสมอาหารสำหรับผู้มีภาวะโรคอ้วนและเบาหวานจำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สารสกัดจากหัวหอม สารสกัดจากหัวหอมเคลือบด้วยสารสกัดจากขิง และสารสกัดจากหัวหอมเคลือบด้วยสารสกัดจากชาเขียวใบหม่อน/อุตสาหกรรมผู้ผลิตส่วนประกอบอาหาร ผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:ส่วนผสมอาหารสำหรับผู้มีภาวะโรคอ้วนและเบาหวานหัวเรื่อง: Fluidized Spray Dryer Prototype | การอบแห้ง | ระบบฟลูอิไดซ์เบดสารสนเทศออนไลน์: Click here to access IP-fulltext สาระสังเขป: The study of health powder products was developed by encapsulation technique which bioactive compound was entrapped in biopolymer, using spray dry and fluidized bed technology. The products from drying process and passing through gastrointestinal tract were tested. The study was divided in to three parts. The first part aimed to study optimum ratios of encapsulant and drying conditions. The second part aimed study stability of active compound in gastrointestinal tract and after eight months of storage. The last part aimed to investigate extraction technique in order to develop bioactive food ingredients from herb. The result showed that optimized temperature for quercetin encapsulation in protein and polysaccharide, by spray dry and fluidized bed technology was 90oC. Quercetin increased along the temperature went up (p<0.05), but it had no effect of feed solution concentration on quercetin content. In addition, the feed solution with protein (0.335-1%) as encapsulant provided the best protection and physical characteristic. Sprayed solution consisting of 10% Maltodextrin, 0.5 % pectin and 0.0625 % quercetin in fraction of 0.334 (sprayed solution: powder, 1:2) also provided good characteristic of granule as it has large particle size and fast dissolution. Furthermore, fluidized bed system could increase quercetin content in product. For stability test of quercetin in both simulated gastric juice and bile solution and the absorption ability in colon by Caco-2 model, it was found that quercetin decreased during passing the system. The absorption rate was fast at the first hour and went slower after the 6th hour. For storage test, the result showed a decrease trend of quercetin content during storage time and the product kept at freezing point provided better result than the one that stored at room temperature. In the development of bioactive food ingredients part, it was exhibited that bioactive compound and inhibition (IC50) depended on ethanol concentration. The optimum concentration of ethanol was recommended at 60-80 % v/v. The result also showed that cellulase elevated bioactive compound extracted from onion and ginger. In addition, Fluidized bed technique provided good characteristic of powder as it could enlarge particle size and solubility as well as increased bioactive compound content by spraying solution on the particle. สาระสังเขป: การศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในรูปแบบผงด้วยเครื่องอบแห้งแบบพ่นฝอยร่วมกับระบบฟลูอิไดซ์เบดโดยใช้เทคนิคการกักเก็บสารสำคัญในสารประกอบพอลิเมอร์ชีวภาพ และทำการทดสอบประสิทธิภาพในการกักเก็บสารหลังผ่านกระบวนการแปรรูปและผ่านระบบจำลองของระบบทางเดินอาหาร โดยการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ทำการศึกษาอัตราส่วนสารเคลือบและสภาวะการอบแห้งในการเตรียมสารสำคัญ ส่วนที่ 2 ทำการศึกษาความคงตัวเมื่อผ่านสภาวะจำลองของระบบน้ำย่อยทางเดินอาหาร ความสามารถในการดูดซึมผ่านลำไส้ และความคงตัวของสารสำคัญที่ระยะเวลาการเก็บ 8 เดือน และส่วนที่ 3 ทำการศึกษากรรมวิธีและเทคนิคการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพรไทยและพัฒนาเป็นส่วนประกอบอาหาร. ผลการศึกษาการกักเก็บสารเควอร์ซิทินในสารผสมโปรตีนและและพอลิแซ็กคาไรด์โดยกระบวนการอบแห้งแบบพ่นฝอยร่วมกับฟลูอิไดซ์เบดพบว่า อุณหภูมิลมร้อนขาออกที่เหมาะสมในการเตรียมสาร คือ 90 องศาเซลเซียส ซึ่งอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นในการอบแห้งแบบพ่นฝอยทำให้ปริมาณ เควอร์ซิทินในตัวอย่างผงเพิ่มขึ้น (p<0.05). ในขณะที่ระดับความเข้มข้นของสารเควอร์ซิทินที่เติมในสารละลายป้อนไม่มีผลต่อปริมาณสารเควอร์ซิทินในผงหลังผ่านการอบแห้ง และสารละลายป้อนที่มีโปรตีนเวย์เป็นสารห่อหุ้ม (0.335-1%) มีความเหมาะสมมากที่สุดในการป้องการสูญเสียสารสำคัญและให้ค่าคุณสมบัติทางกายภาพที่ดี โดยสารละลายพ่นเคลือบที่มีส่วนผสมของมอลโตเด็กซ์ทริน 10% และเพกทิน 0.5% และเควอร์ซิทิน 0.0625% ในสัดส่วนน้ำหนักเท่ากับ 0.334 (อัตราส่วนสารละลายเคลือบต่อผลิตภัณฑ์ผงที่ 1:2) เป็นอัตราส่วนของสารละลายต่อผลิตภัณฑ์ผงที่เหมาะสมสำหรับการเคลือบสารด้วยเครื่องฟลูอิไดซ์เบด เนื่องจากมีขนาดอนุภาคขนาดใหญ่และใช้ระยะเวลาในการละลายอย่างสมบูรณ์สั้นที่สุด และพบว่าการพ่นเคลือบด้วยสารละลายที่มีสารเควอร์ซิทินโดยใช้ระบบ ฟลูอิไดซ์เบดสามารถเพิ่มปริมาณเควอร์ซิทิน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-07-20 IP00055

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300