การวิจัยพัฒนาเครื่องดื่มสมุนไพรเสริมสุขภาพเพื่อลดความดันโลหิต = The development of functional herbal drink for people with hypertension

โดย: Supaporn Lekhavat [et al.] (CONFIDENTIAL)
ผู้แต่งร่วม: Supaporn Lekhavat | Panida Banjongsinsiri | Krittalak Pasakawee | Nowwapan Noojuy | Anchun Anaket | สุภาภรณ์ เลขวัต | ปนิดา บรรจงสินศิริ | กฤตลักษณ์ ปะสะกวี | เนาวพันธ์ หนูจุ้ย | อัญชัญ อาณาเขตร์
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-30, Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ บ.55-30 การวิจัยพัฒนาเครื่องดื่มสมุนไพรเสริมสุขภาพ เพื่อลดความดันโลหิตหัวเรื่อง: โรคความดันโลหิตสูง | เครื่องดื่มสมุนไพรสาระสังเขป: The development of functional herbal drink for people with hypertension has been carried out in a laboratory scale and developed to an industrial scale. A potential of an inhibition of Angiotensin I Converting Enzyme (ACE) in individual Thai herbal teas such as Thai mulberry green tea, Lingzhi tea, Asiatic pennyworth tea, Safflower tea, Lotus tea, and Chrysanthemum tea were determined in order to select an appropriated mixed herbal tea recipe. Concentrated herbal drink was prepared by extraction of mixed herbal tea with hot water, at temperature of 85-90 oC for 30 minutes, in the ratio of 5 g. mixed hearbal tea : 200 g. water. After that, herbal drink tea was formulated. Sensory quality of developed herbal drink was then evaluated by a rating score method, using a 9-point hedonic scale. The results in laboratory scale showed that an ACE inhibition values of selected herbal tea are in range of 58-77%, with the highest was found in Chrysanthemum tea (77%). It was also found that the formulated herbal drink had an ACE inhibition value of 70%. For sensory quality evaluation by internal panels at Thailand institute of Scientific and Technology research (TISTR), the results showed that 72% of panelists accepted the product quality with moderately like score and a score in an attribute of color, odor, flavor, taste and overall liking is 7.3, 6.3, 6, 5.9 and 6, respectively.สาระสังเขป: การพัฒนาเครื่องดื่มชาสมุนไพรที่มีสรรพคุณช่วยในการลดความดันโลหิตในระดับห้องปฏิบัติการและในระดับอุตสาหกรรม เริ่มจากการศึกษาคุณสมบัติการเป็นสารยับยั้งการเกิดโรคความดันโลหิตสูงตามธรรมชาติของน้ำสกัดสมุนไพรที่ใช้เป็นวัตถุดิบในเครื่องดื่ม โดยวิเคราะห์ค่าความสามารถในการยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ทิง (angiotensin converting enzyme, ACE) ซึ่งสมุนไพรที่ใช้เป็นวัตถุดิบ 6 ชนิด ได้แก่ ชาเขียวใบหม่อน, ชาเห็ดหลินจือ, ชาใบบัวบก, ชาดอกคำฝอย, ชาบัว, และชาดอกเก็กฮวย จากนั้นจะนำสมุนไพรทั้ง 6 ชนิด มาผสมในอัตราส่วนที่เหมาะสมและทำการสกัดน้ำชาสมุนไพร โดยใช้น้ำร้อนที่อัตราส่วน 5 กรัมสมุนไพร : 200 กรัมน้ำร้อน น้ำสมุนไพรสกัดเข้มข้นที่ได้จะนำมาทำการปรับรสชาติและกลิ่น เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค โดยทำการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสแบบการให้คะแนนความชอบในคุณลักษณะด้าน สี, กลิ่น, กลิ่นรส, รสชาติ และความชอบโดยรวม ซึ่งจะใช้แบบทดสอบการให้คะแนน 9 ระดับคะแนนตามลำดับความชอบ (9-point Hedonic scale). ผลการศึกษาพบว่า น้ำสกัดจากชาสมุนไพรมีค่าการยับยั้งเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ทิงในช่วงร้อยละ 58-77, โดยน้ำชาสกัดจากดอกเก็กฮวยมีค่าสูงสุดที่ร้อยละ 77 และเครื่องดื่มสมุนไพรลดความดันที่พัฒนาในระดับปฏิบัติการมีค่าการยับยั้งเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ทิงร้อยละ 70, จากการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส ผู้บริโภคให้การยอมรับด้านสี, กลิ่น, กลิ่นรส, รสชาติ และความชอบโดยรวมในระดับชอบเล็กน้อยถึงชอบปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.3, 6.3, 6, 5.9 และ 6 ตามลำดับ โดย ผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับผลิตภัณฑ์ร้อยละ 72.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300