อนุสิทธิบัตรเรื่อง:กระบวนการลดขนาดรูพรุนของพอลิแลคติก เอซิดเมมเบรนชนิดเส้นใยกลวง= สิทธิบัตรเลขที่:1301001944 Siriporn Larpkiattaworn [et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Siriporn Larpkiattaworn | Wasana Khongwong | Piyalak Ngernchuklin | Laksana Kreetha | Julaluk Phunnoi, | Siriporn Tong-on | Thanchanok Muangman | วาสนา ฆ้องวงศ์ | ศิริพร ลาภเกียรติถาวร | ปิยาลัคน์ เงินชูกลิ่น | ลักษณา กรีฑาเวทย์ | จุฬาลักษณ์ พันธ์น้อย | สิริพร ทองอ่อน | ธัญชนก เมืองมั่น
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 54-06, Sub Proj. no. 3; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 132 p. tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:การพัฒนาเมมเบรนจากพลาสติกชีวภาพเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:1.เมมเบรนจากพลาสติกชีวภาพ (แบบแผ่น (flat sheet) และแบบเส้นใยกลวง (Hollow Fiber)) - ออกแบบกระบวนการผลิต - ศึกษาและทดสอบคุณสมบัติ การนำไปต่อยอด:1.นำมาต่อยอดให้มีการผลิตในระดับอุตสาหกรรม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์และสุขภาพภายในประเทศ ให้สามารถแข่งขันในตลาดและลดการนำเข้าจากต่างประเทศได้ 2.สามารถนำไปพัฒนาต่อเพื่อเป็นเมมเบรนสำหรับไตเทียมแล้ว ยังสามารถนำเมมเบรนไปใช้ในด้านอื่นๆ จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:- นำไปพัฒนาและใช้ในทางการแพทย์ได้หลากหลาย - ลดการนำเข้าผลิตภัณฑ์เมมเบรนจากต่างประเทศหัวเรื่อง: แผ่นเซรามิกเมมเบรน | Electrophoretic depositionสาระสังเขป: This research is to develop ceramic membrane for the applications of microorganisms removal and separation of extracted components in fruit or herbal juice. The experiment was separated into 3 parts, the 1st part is to develop ceramic membrane with pore size of 0.2-0.5 µm. The 2nd part is to coat this ceramic membrane to get the smaller pore size of 0.1 µm and the last part is to test the filtration performance of ceramic membrane. The process of ceramic membrane fabrication was started with mixing of alumina, aluminium hydroxide and dolomite and formed into disc with size of 50 mm in diameter and 2.5 mm thickness. After forming, it was sintered at 1500oC for 1 h. The average pore size and porosity of these ceramic membrane are 0.45 µm and 55%, respectively. The 2nd step, the ceramic membrane was prepared for coating using EPD (Electrophoretic Deposition) method. Two types of coating materials are alumina and zeolite. Coating parameters were set at voltage of 10 volt for 3, 5 and 7 min, then the coated samples were dried and sintered at 1300oC for alumina coating and hydrothermal at 175oC for 24 h for zeolite coating. The average pore size of ceramic membrane coated with alumina and zeolite were 0.1 µm and  0.1 µm, respectively. Both coated and non-coated ceramic membranes were tested for filtration performance. It was found that the non-coated ceramic membrane can removed microorganism (Escherichia Coli, A. pasteurianus and S. cerevisiae) and colloidal in wine, sugarcane juice and vinegar for enhancing the purification and shelf life of the products. For the coated membrane can use to separated protein from the extracted components of Ma-Hae bean and separated smaller protein molecule of 15-18 kDa from the large protein molecule with can increase the concentration of small protein to 50% from the original component.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแผ่นเซรามิกเมมเบรนให้มีคุณสมบัติสามารถกรองจุลินทรีย์ และกรองสารสำคัญในสารสกัด. การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นการพัฒนาแผ่น เซรา-มิกเมมเบรนที่มีขนาดรูพรุนในช่วง 0.2-0.5 ไมครอน, ส่วนที่สองนำแผ่นเซรามิกเมมเบรนที่เตรียมได้มาทำการเคลือบให้ได้ขนาดรูพรุนเล็กกว่า 0.1 ไมครอน, ส่วนสุดท้ายเป็นการศึกษาการใช้งานการกรองสารต่างๆ. การพัฒนาแผ่นเซรามิกเมมเบรนเริ่มจากการนำสารอะลูมินา, อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ และโดโลไมต์ ทำการบดผสมและขึ้นรูปโดยอัดให้เป็นแผ่นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร หนา 2.5 มิลลิเมตร ทำการเผาที่อุณหภูมิ 1,500 oซ. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง. แผ่นเซรามิกที่เตรียมได้ขนาดรูพรุนเฉลี่ย 0.45 ไมครอน ความพรุนตัว 55%. ขั้นที่สองเป็นการนำแผ่นเซรามิกเมมเบรนที่เตรียมได้ไปเคลือบผิวด้วยกระบวนการ EPD (electrophoretic deposition) ทำการศึกษาสารเคลือบผิว 2 ชนิด คือ อะลูมินา และซีโอไลต์ ที่ค่าความต่างศักย์ 10 โวลต์ เป็นเวลา 3, 5 และ 7 นาที หลังการเคลือบผิวนำไปอบแห้งและเผาที่อุณหภูมิ 1,300 oซ. สำหรับสารเคลือบอะลูมินา และทำไฮโดรเทอร์มอลที่อุณหภูมิ 175 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง สำหรับสารเคลือบผิว ซีโอไลต์ แผ่นเมมเบรน หลังเคลือบผิวด้วยอะลูมินามีขนาดรูพรุนประมาณ 0.1 ไมครอน. สำหรับชิ้นงานที่เคลือบผิวด้วย ซีโอไลต์มีเนื้อแน่น รูพรุนขนาดเล็กกว่า 0.1 ไมครอน. แผ่นเซรามิกเมมเบรนที่เตรียมได้ถูกนำไปใช้งานทดสอบการกรอง โดยเซรามิกเมมเบรนที่ไม่ได้ผ่านการเคลือบผิวสามารถกรองเชื้อจุลินทรีย์ชนิด Escherichia Coli, A. pasteurianus และ S. cerevisiae ได้ และสามารถกรองอนุภาคคอลลอยด์ในน้ำอ้อย, ไวน์ และน้ำส้มสายชู ช่วยเพิ่มความใส และยืดอายุการเก็บรักษา. สำหรับแผ่นเมมเบรนที่ผ่านการเคลือบผิวสามารถใช้กรองสารสกัดจากถั่วมะแฮะ และคัดแยกโปรตีนขนาดเล็กกว่า 15-18 กิโลดาลตัน ออกจากโปรตีนโมเลกุลใหญ่ได้ เพิ่มความเข้มข้นของโปรตีนโมเลกุลเล็กได้ถึง 50%.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-06-13 IP00012

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300