การใช้ประโยชน์มันสำปะหลังด้านอาหารมนุษย์ (4) : การออกแบบเครื่องคั่วการิ = utilization of cassava roots as human foods : the design of garifier / Suwanna Srisawad...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chavajaroen, Sompong | Downdak, Churn | Moleeratanond, Wiboonkiet | Srisawas, Suwanna | Trangwacharakul, Srisak
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 25-23 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1986 รายละเอียดตัวเล่ม: 64 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การใช้ประโยชน์มันสำปะหลังด้านอาหารมนุษย์ | การออกแบบเครื่องคั่วการิ | The design of garifier [Cover title]หัวเรื่อง: Cassava | Cassava flour | Gari | Garifier | Manihot esculentaสาระสังเขป: The most important step in producing gari is to have it partially cookey by roasting. In Africa, gari production at small-scale level was done by roasting gari on the sauce pan. On the other hand, the production of gari at industrial level requires a continuous garifier. Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) had designed the continuous garifier by studying information obtained from literature review and observations made in Nigeria by TISTR's scientists. This garifier is expected to have a production capacity of 60 kilograme gari per hour, equivalent to 240 kilograme cassava roots per hour. After the designed garifier had been fabricated, test runs and further improvement of the machine had been conducted several times to achieve the desired performance of the equipment and satisfied gari product. The obtained gari product was analysed and justified by the degree of swelling properties of gari in water. This report presents the drawings of garifier, the steps eventually involved in the improvement of the garifier and the operating conditions of the garifier after improvement.สาระสังเขป: การผลิตการิมีขั้นตอนที่สำคัญคือการทำให้การิสุกบางส่วนโดยการคั่ว ซึ่งวิธีพื้นบ้านที่ชาวแอฟริกาทำกันคือการคั่วบนกระทะ. แต่ในการผลิตการิระดับอุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีเครื่องคั่วที่สามารถคั่วได้ต่อเนื่อง และคั่วได้เป็นจำนวนมาก. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้ออกแบบเครื่องคั่วมันหมักโดยอาศัยข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงและที่ได้จากการดูงานที่ประเทศไนจีเรีย. โดยคาดว่าเครื่องคั่วนี้จะสามารถผลิตการิได้ประมาณ 60 กิโลกรัมต่อชั่วโมง. ซึ่งจะใช้หัวมันสำปะหลังสดประมาณ 240 กิโลกรัม. เมื่อได้สร้างเครื่องตามแบบแล้ว ได้ปรับปรุงแก้ไขให้เครื่องคั่วดังกล่าวสามารถผลิตการิที่มีคุณภาพสม่ำเสมอและอยู่ในเกณฑ์ใช้ได้. โดยดูจากคุณสมบัติการพองตัวในน้ำเย็นซึ่งเป็นคุณสมบัติโดยเฉพาะของการิที่ได้มาจากการคั่ว. รายงานนี้เสนอรายละเอียดของเครื่องคั่วที่ออกแบบโดบ วท., การดัดแปลงและปรับปรุงเครื่องคั่ว จนสามารถผลิตการิที่มีคุณสมบัติตามต้องการได้, และรายละเอียดในการทำงานพร้อมทั้งสภาวะต่าง ๆ ในการคั่วการิด้วยเครื่องดังกล่าว.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300