การพัฒนาเบญจมาศสายพันธุ์ใหม่ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ = Chrysanthemum improvement using biotechnology / Somnuk Chaidaroon [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Somnuk Chaidaroon
ผู้แต่งร่วม: Somnuk Chaidaroon | สมนึก ชัยดรุณ | Ittirit Ungvichian | Jarunee Sinsawat | Wilirat Khortajon | อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร | จารุณี สินสวัสดิ์ | วิไลรัตน์ ครุฑจร
BCG: เกษตรปลอดภัย Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-03, Sub Proj. no. 2; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2018 รายละเอียดตัวเล่ม: tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.55-02 การพัฒนาเบญจมาศสายพันธุ์ใหม่เพื่อเพิ่มศักยภาพในการใช้ประโยชน์ และยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ | 1. หนังสือรับรองพันธุ์พืชขึ้นทะเบียนตาม พรบ. พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 จำนวน 22 สายพันธุ์.2558 2. หนังสือรับรองพันธุ์พืชขึ้นทะเบียนตาม พรบ. พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 จำนวน 27 สายพันธุ์.2559หัวเรื่อง: เบญจมาศ | ไม้ดอกไม้ประดับ | พันธุ์พืชสาระสังเขป: Direct somatic embryogenesis was performed on the ray floret of Chrysanthemum varieties collected from farmer plantations. Their leaf, node and internode of in vitro shoot regeneration of chrysanthemum had been used as the explant which were treated with mutagent Ethyl Metane Sulfanate (EMS) in these studies.The results show that the leaf blade of young in vitro shoot could not tolerate EMS as much as the node and the internode. Each variety of chrysanthemum had different level of tolerance or LD50 value of EMS.The color of the mother plant floret would determine the characteristics of the induced mutagenesis plants. For example, if a single color of a mother floret is used, the mutagenesis plants would only differ in the form of petal and shape of flower. On the other hand, a mother plant with two or three colors petal would yield various colors of a new variety of Chrysanthemum plants. In this study, 49 new varieties had been found and registered as new plant varieties. สาระสังเขป: จากการเก็บรวบรวมสายพันธุ์เบญจมาศที่เกษตรกรปลูกในแหล่งปลูกต่างๆ แล้วมาทำการเพาะเลี้ยงส่วนของกลีบดอก เพื่อให้ได้ต้นอ่อนมาใช้ในการศึกษาการกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ด้วยสารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต พบว่าแต่ละสายพันธุ์ จะมีความทนทานต่อสารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethyl methane sulfonate (EMS) ที่แตกต่างกัน โดยชิ้นส่วนแผ่นใบจะมีความทนทานต่อสารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต ที่ต่ำกว่าชิ้นส่วนปล้องและข้อของเบญจมาศ รวมทั้งแต่ละสายพันธุ์ของเบญจมาศก็มีความทนทานต่อสารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต ที่ต่างกันหรือมีค่า LD50 ต่อสารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต ที่แตกต่างกัน.ลักษณะสีดอกของต้นแม่พันธุ์ที่นำมากระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ น่าจะมีผลอย่างมากต่อลักษณะการกลายพันธุ์ ทั้งนี้จากการทดลองพบว่า ต้นแม่พันธุ์ที่มีสีกลีบดอกเพียงสีเดียว เช่นสีเหลืองหรือสีขาว เมื่อทำการกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ จะมีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของลักษณะกลีบดอกและการเรียงตัวของกลีบดอก แต่สีของกลีบดอกจะยังคงเหมือนต้นแม่พันธุ์ แต่การใช้แม่พันธุ์ที่ดอกมีหลายสีในดอกเดียวกัน โอกาสจะเกิดต้นที่กลายพันธุ์ที่มีลักษณะของสีกลีบดอกที่แตกต่างจากต้นแม่พันธุ์ได้มากขึ้น ทั้งนี้จากการศึกษาและทดลองพบว่ามีสายพันธุ์เบญจมาศที่มีลักษณะดอกที่แตกต่างไปจากต้นเดิมและสามารถทำการขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชจำนวนรวมทั้งสิ้น 49 สายพันธุ์.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-07-20 IP00057

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300