Biofuel production with pyrolysis technology การผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซิส Borisut Chantrawongphisal

โดย: Borisut Chantrawongphisal [et al.]
ผู้แต่งร่วม: Borisut Chantrawongphisal | Satta Watanatham | Phichai Wongharn | Pravit Thapnui | Phongsak Hongcharoensri | Napaporn Chancharoenlap | บริสุทธิ์ จันทรวงศ์ไพศาล | ศรัทธา วัฒนธรรม | พิชัย วงศ์หาญ | พงษ์ศักดิ์ หงษ์เจริญศรี | นภพร ชาญเจริญลาภ
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-08, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2018 รายละเอียดตัวเล่ม: 45 p. ills, tables. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.57-08 การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานหัวเรื่อง: ชีวมวล | น้ำมันดิน | น้ำมันชีวภาพสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: จากการทดลองศึกษากระบวนการผลิตน้ำมันอากาศยานจากชีวมวล ด้วยเทคโนโลยีไพโรไล-ซิส โดยน้ำมันดินจากกระบวนการไพโรไลซิสไม้ยูคาร์ลิปตัส ด้วยกระบวนการกำจัดออกซิเจน (deoxygenation) ออกจากโมเลกุลของน้ำมันดิน น้ำมันดินมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 34, คาร์บอนร้อยละ 58 และไฮโดรเจนร้อยละ 7.8 การกำจัดออกซิเจนโดยการป้อนไฮโดรเจนเข้าไปแทนที่ออกซิเจน และควบคุมความดันภายในเครื่องปฏิกรณ์ด้วยแก๊สไนโตรเจน โดยการควบคุมความดันที่ 7 บาร์ อัตราการป้อนไฮโดรเจน 50 มิลลิลิตรต่อนาที และใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับอะลูมินาบอล พบว่า การเพิ่มปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 66 มีผลทำให้ Yield ของน้ำมันเพิ่มขึ้นร้อยละ 58 นอกจากนี้ ยังพบว่า การเพิ่มอุณหภูมิ จาก 170, 170 ถึง 280, 280 องศา-เซลเซียส มีผลทำให้ค่าความร้อนเพิ่มขึ้นจาก 6670, 7935 และ 8380 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม นอกจากนี้ อุณหภูมิดังกล่าวมีผลทำให้องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันชีวภาพเพิ่มสูงขึ้น โดยคาร์บอนเพิ่มจากร้อยละ 63.2, 71.6 และ 75.5 ตามลำดับ ไฮโดรเจนเพิ่มจากร้อยละ 7.9, 8.4 และ 8.5 ตามลำดับ ในขณะเดียวกันปริมาณของออกซิเจนลดลงจากร้อยละ 28.9, 20 และ 16 ตามลำดับ แสดงว่าน้ำมันชีวภาพที่ได้ยังมีคุณสมบัติไม่เหมาะสมต่อการสังเคราะห์เป็นน้ำมันอากาศยาน เนื่องจากยังคงมีออกซิเจนออกในโมเลกุลของน้ำมันชีวภาพ.สาระสังเขป: This is a study on the production of bio jet fuel from biomass with pyrolysis technology. The tar sample from eucalyptus pyrolysis enters a process where oxygen is removed from tar molecules by deoxygenation reaction. The tar is composed of 34 % oxygen, 58 % carbon and 7.8 % hydrogen. In the oxygen removal process, the hydrogen is fed into the reactor at the rate of 50 ml per minute, where the pressure inside is controlled with nitrogen gas at 7 bars. It was found that by increasing the amount of Nickel catalysts by 66% on the alumina support, the yield of bio oil rose 58 %. In addition, by increasing the temperature from 170, 170 to 280, 280 0C, the specific energy could go up from 6670, 7935 to 8380 kcal/kg, respectively. The increase in temperature also affected chemical composition of the bio-oil causing carbon to rise from 63.2%, 71.6% to 75.5% and hydrogen to rise from 7.9%, 8.4% and 8.5%, respectively, while the amount of oxygen reduced from 28.9%, 20% and 16%, respectively. This indicated that the bio-oil is not yet suitable for the synthesis of jet fuel, as oxygen molecules still remained the bio-oil.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300