อนุสิทธิบัตรเรื่อง การเก็บรักษาเซลล์จุลินทรีย์ด้วยสารโพลีแซคคไรต์จากเห็ดรับประทานได้= อนุสิทธิบัตรเลขที่ 1701004913 Premsuda Saman [et al.]

โดย: Premsuda Saman
ผู้แต่งร่วม: Premsuda Saman | Somporn Moonmangmee | Achara Chaiongkarn | Lawan Chatanon | Bundit Fungsin | เปรมสุดา สมาน | สมพร มูลมั่งมี | อัจฉรา ไชยองค์การ | ลาวัลย์ ชตานนท์ | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์
BCG: จุลินทรีย์ TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 56-03, Sub Proj. no. 3; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2019 รายละเอียดตัวเล่ม: 59 p. table, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง การวิจัยและพัฒนาสารพรีไบโอติกจากเห็ดพื้นเมืองอีสาน | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:ผลผลิต สาร Prebiotic นำไปผลิตอาหาร สารเสริมสุขภาพ เครื่องสำองค์2556 การนำไปต่อยอด:1.สารพรีไบโอติก/ภาคเอกชนผู้ผลิตอาหาร เครื่องดื่ม สารเสริมสุขภาพ ยา และเครื่องสำอาง 2.สารพรีไบโอติกจากเห็ด/ผู้ผลิตสามารถนำกระบวนการผลิตสารพรีไบโอติกจากเห็ดไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้,หน่วยงานของรัฐ เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์ และมหาวิทยาลัยต่างๆ,ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์สารเสริมสุขภาพที่มีประโยชน์ จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:สารพรีไบโอติกจากเห็ดเพื่อใช้เก็บรักษาเซลล์จุลินทรีย์หัวเรื่อง: เห็ด | Mushroomสาระสังเขป: Forty-one samples of wild mushroom were collected from the northeastern Thailand for evaluation of prebiotic properties. All mushroom samples were measured for antimicrobial activity against 13 strains of bacteria (Bacillus subtilis TISTR 008, Bacillus cereus ATCC 11178, Staphylococcus aureus TISTR 1466, Eschericia coli TISTR 887, Escherichia coli TISTR 708, Pseudomonas aeruginosa TISTR 781, Salmonella typhimurium TISTR 292, Salmonella enteritidis TISTR 2202, Bifidobacterium bifidum TISTR 2129, Bifidobacterium animalis TISTR 1925, Bifidobacterium breve TISTR 2130, Bifidobacterium longum TISTR 2124 and Lactobacillus brevis TISTR 855. The results showed that many mushroom samples produced antimicrobial substance to inhibit the bacteria growths such as Russula borealis Kauffmann, Tylopilus sordidus, Lentinus praerigidus, Bololetus aestivalis, Boletus aereus, Astraeus hygrometricus, Retiboletus ornatipes, Boletus griseiopurpureus, Tylopilus eximius, Boletellus emodensis, Astraeus thailandicus, Amanita princeps, Amanita hemibapha, Amanita calyptrate, Tricholoma crassum, Russula emitica, Russula albidula Peck and Termitomyces cylindricus. Some mushrooms such as Russula anthracina, Russula virescens, Cantharellus odoratus, Boletus colossus Heim and Tylopilus pseudoscaber produced antimicrobial substance which could retard only the pathogen growth. No antagonistic activity was observed from Boletus edulis and Russula densifolia. To eliminate antimicrobial substance from fruiting body, all mushroom samples were soaked in 95% alcohol for 24 hours. After decanting, the samples were boiled and extracted to obtain soluble polysaccharides and alkali polysaccharides. Fruiting body were analysed for glucan content. The results showed that the amounts of soluble polysaccharides and alkali polysaccharides were vary among mushroom samples. Mostly, glucan containing in mushroom samples were β-glucan. The selected mushrooms with high polysaccharide content were tested for bifidogenic activity using four strains of bifidobacteria (Bifidobacterium bifidum TISTR 2129, B. breve TISTR 2130, B. longum TISTR 2194 and B. animalis TISTR 2195). Russula virescens, Russula emitica, Boletus edulis, Boletus pallidus Frost and Termitomyces cylindricus presented obviously the bifidogenic effect, while Astraeus thailandicus, Cantharellus odoratus, Russula albidula Peck, Russula anthracina could stimulate only the growths of B. bifidum and B. breve. For these results, six effective mushrooms consisting of Russula virescens, Russula emitica, Boletus edulis, Termitomyces cylindricus, Astraeus thailandicus and Russula anthracina were selected and tested further in in vitro gut model system. Results indicated that the highest prebiotic index (PI) value was obtained from Russula virescens followed by Russula emitica, Boletus edulis, Astraeus thailandicus, Termitomyces cylindricus and Russula anthracina respectively. The highest concentration of short chain fatty acid (acetic acid, butyric acid and probionic acid) was also found in the Russula virescens fermentation while the lowest of short chain fatty acid was found in the fermentation of Russula anthracina. To evaluate the potential prebiotic substance, Russula virescens and Russula emitica including their extracted polysaccharides (soluble polysaccharide and alkali polysaccharide) were examined separately in the gut model. Comparing within Russula virescens and its two extracted polysaccharides, the highest PI value was presented in fruiting body. However, the alkali polysaccharide of Russula emitica exhibited the highest PI value rather than fruiting body. Thus, Russula virescens and its soluble polysaccharide including Russula emitica and its alkali polysaccharide were selected and tested for the potential use as protective agent for maintaining viability of probiotic bacteria. Lactobacillus fermentum and Bfidobacterium breve were used in this study. Results showed that B. breve presented higher amount of cell survival than amount of L. fermentum. 10% of soluble polysaccharides of Russula virescens could maintain B. breve at 106 cfu/g within six months.สาระสังเขป: ทำการเก็บตัวอย่างเห็ดป่าในพื้นที่ภาคอีสานจำนวน 41 ตัวอย่าง มาทดสอบคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติก โดยได้ทดสอบการสร้างสารยับยั้งจุลินทรีย์ 13 สายพันธุ์ ได้แก่ Bacillus subtilis TISTR 008, Bacillus cereus ATCC 11178, Staphylococcus aureus TISTR 1466, Eschericia coli TISTR 887, Escherichia coli TISTR 708, Pseudomonas aeruginosa TISTR 781, Salmonella typhimurium TISTR 292, Salmonella enteritidis TISTR 2202, Bifidobacterium bifidum TISTR 2129, Bifidobacterium animalis TISTR 1925, Bifidobacterium breve TISTR 2130, Bifidobacterium longum TISTR 2124 และ Lactobacillus brevis TISTR 855 ผลการทดลองพบว่า เห็ดป่าที่กินได้หลายชนิดสร้างสารที่สามารถยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ได้ เช่น เห็ดก่อแดง, เห็ดผึ้งถ่าน, เห็ดกระด้าง, เห็ดตับเต่า, เห็ดผึ้งตอง, เห็ดเผาะขาว, เห็ดผึ้งทหาร, เห็ดผึ้งขม, เห็ดผึ้งข้าวกล่ำ, เห็ดผึ้งนกยูง, เห็ดเผาะหนัง, เห็ดระโงก, เห็ดระโงกแดง, เห็ดระโงกเหลือง, เห็ดตีนแรด, เห็ดน้ำหมาก, เห็ดหน้าขาว และเห็ดโคนไฟ เห็ดบางชนิดสามารถสร้างสารยับยั้งเชื้อก่อโรคได้แต่ไม่ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เช่น เห็ดหน้ามอม, เห็ดไค, เห็ดมันปู, เห็ดผึ้งทาม และเห็ดผึ้งตับควาย ส่วนเห็ดผึ้งหวานและเห็ดถ่านไม่มีสารที่ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ นำตัวอย่างเห็ดที่ได้มาสกัดแยกสารยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ โดยนำไปแช่ในสารละลาย แอลกอฮอล 95% เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นนำไปสกัดด้วยความร้อน เพื่อแยกสารพอลิแซ็ก- คาไรด์ที่ละลายน้ำและพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายในเบส และหาปริมาณกลูแคนในดอกเห็ด ผลการทดลองพบว่าเห็ดป่าแต่ละชนิดมีปริมาณพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายน้ำและละลายในเบสแตกต่างกัน ปริมาณ บีตา-กูลแคน เป็นกลูแคนหลักที่สำคัญในเห็ดป่าทุกชนิด ส่วนปริมาณ บีตา-กูลแคน มีปริมาณ น้อยมาก ดังนั้น จึงได้คัดเลือกดอกเห็ดสดที่มีส่วนประกอบของสารพอลิแซ็กคาไรด์ในปริมาณสูงมาทดสอบการส่งเสริมการเจริญของ Bifidobacterium sp. 4 สายพันธุ์ ได้แก่ Bifidobacterium bifidum TISTR 2129, B. breve TISTR 2130, B. longum TISTR 2194 และ B. animalis TISTR 2195 ผลการทดลอง พบว่า เห็ดไค, เห็ดน้ำหมาก, เห็ดผึ้งหวาน, เห็ดผึ้งขาว และเห็ดโคนไฟ สามารถกระตุ้นการเจริญของ Bifidobacterium sp. ทั้ง 4 สายพันธุ์ ได้ดีมาก ส่วนเห็ดเผาะหนัง, เห็ดมันปู, เห็ดหน้าขาว และเห็ดหน้ามอม สามารถส่งเสริมการเจริญของ B. bifidum และ B. breve เท่านั้น ดังนั้น จึงได้คัดเลือกเห็ดป่าที่มีประสิทธิภาพ 6 สายพันธุ์ คือ เห็ดไค, เห็ดผึ้งหวาน, เห็ดน้ำหมาก, เห็ดโคน, เห็ดมันปู และเห็ดหน้ามอม มาทดสอบในระบบแบบจำลองลำไส้ใหญ่ เพื่อวิเคราะห์หาค่าดัชนีพรีไบโอติก และปริมาณกรดไขมันสายสั้นที่เกิดขึ้นในกระบวนการหมัก ผลการทดลอง พบว่า เห็ดไค จะมีค่าดัชนีพรีไบโอติกสูงกรดไขมันสายสั้นที่เกิดขึ้นในกระบวนการหมัก ผลการทดลองพบว่า เห็ดไคจะมีค่าดัชนีพรีไบโอติกสูงที่สุด รองลงมา คือ เห็ดน้ำหมาก ส่วนเห็ดที่มีค่าดัชนีพรีไบโอติก น้อยที่สุด คือ เห็ดหน้ามอม เห็ดไคจะมีการสร้างกรดแอซิติก, โพรพาโนอิก และบิวทีริกมากที่สุด แต่ไม่สร้างกรดเพนทาโนอิก และเห็ดหน้ามอมมีการสร้างกรดไขมันสายสั้นน้อยที่สุด จากผลการทดลองจึงได้เลือกเห็ดไค และเห็ดน้ำหมาก รวมทั้งพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายในน้ำและละลายในเบสของเห็ดทั้งสองชนิดมาทดสอบหาค่าดัชนีพรีไบโอติก พบว่า ในดอกเห็ดไคมีค่าดัชนีพรีไบติกสูงที่สุด ส่วนสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายในน้ำ และสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายในเบสมีค่าดัชนี พรีไบโอติกใกล้เคียงกัน สำหรับค่าดัชนีพรีไบโอติกในเห็ดน้ำหมาก พบว่า สารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ ที่ละลายในเบสให้ค่าดัชนีพรีไบโอติกสูงที่สุด รองลงมา คือ ดอกเห็ดน้ำหมาก และสารสกัดโพลี- แซคคาไรด์ที่ละลายในน้ำตามลำดับ จึงได้เลือกสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายน้ำของเห็ดไค และสารพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายในเบสของเห็ดน้ำหมาก มาทดสอบการเก็บรักษาจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ 2 สายพันธุ์ สาระสังเขป: คือ Lactobacillus fermentum และ Bifidobacterium breve โดยเปรียบเทียบกับดอกเห็ดทั้งสองชนิด ผลการทดลองพบว่า ปริมาณ B. breve มีการรอดชีวิตสูงกว่า L. fermentum และเมื่อใช้สารพอลิแซ็กคาไรด์ที่ละลายน้ำสกัดได้จากเห็ดไค 10% สามารถเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของ B. breve ได้มากกว่าการใช้ skimmed milk 10% โดยมีปริมาณเชื้ออยู่ที่ 106 cfu/กรัม ในระยะเวลาการเก็บรักษา 6 เดือน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-07-20 IP00048

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300