The research and decelopment of north-eastern native edible mushroom commercial cultivation การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเห็ดพื้นเมืองอีสานในเชิงพาณิชย์ Prathan Potisawat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Prathan Potisawat
ผู้แต่งร่วม: Prathan Potisawat | Rachain Visutthipat | Sayam Sinsawat | Sutthirak Meeploy | Supat Klongkanngan | Ratsamee Potisawat | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สยาม สินสวัสดิ์ | สุทธิรักษ์ มีพลอย | สุภัทร์ คล่องการงาน | รัศมี โพธิสวัสดิ์
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 56-03, Sub Proj. no.3; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2018 รายละเอียดตัวเล่ม: 63 p. table, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาเห็ดพื้นเมืองอีสานเพื่ออนุรักษ์และเสริมสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์หัวเรื่อง: เห็ด | Mushroomสาระสังเขป: This project aims to optimize the cultivation outputs of northeast native mushroom on a commercial scale. The results from the experiment showed an outstanding growth rate of mushrooms Lentinus spp. and mycelial in the third treatment where the second adjusted formula was applied. Upon an examination of the mushrooms in a greenhouse, it was found that at the end of the experiment the maximum number of yields as well as the weight had increased relative to the loaf weight. The study also revealed that the use of spray liquid inoculum together with Tap Tao mushroom powder inoculum had a positive impact on growth and production output of Tap Tao mushroom in sesbania field in the fifth treatment by enlarging strip and width of the mushroom. สาระสังเขป: การศึกษาเรื่อง การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเห็ดพื้นเมืองอีสานในเชิงพาณิชย์ ผลจากการทดสอบ พบว่า กรรมวิธีปรับสูตรก้อนเชื้อเห็ดบดเห็ดลม และเห็ดขอนหลากสีในทรีตเมนต์ที่ 3 สูตรปรับปรุงที่ 2 เห็ดมีการเจริญเติบโตของเส้นใยมากกว่าในทุกๆ ทรีตเมนต์และเมื่อนำก้อนเห็ดที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตดังกล่าวเปิดดอกในโรงเรือน พบว่าส่งผลต่อปริมาณผลผลิตเห็ดที่เพิ่มขึ้นทั้งในเรื่องของน้ำหนักสดดอก จากการศึกษาพบว่าก้อนเชื้อเห็ดทรีตเมนต์ที่ 3 สูตรปรับปรุงที่ 2 มีน้ำหนักก้อนหลังสิ้นสุดการทดลองต่ำสุดสัมพันธ์กับจำนวนดอกและน้ำหนักดอกที่เพิ่มขึ้น. ผลการศึกษาการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตเห็ดตับเต่าในแปลงโสนของเกษตรกรพบว่าทรีตเมนต์ที่ 5 ใช้การพ่นเชื้อน้ำตามวิธีของเกษตรกร ร่วมกับการใช้หัวเชื้อเห็ดตับเต่าผง มีอิทธิพลต่อปริมาณผลผลิตในเรื่องของน้ำหนักสด, จำนวนดอก, ความสูงดอก, ความกว้างดอก, ที่เพิ่มขึ้น.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300