วิจัยและพัฒนาการผลิตซีโอไลต์จากของเสียอุตสาหกรรมในระดับโรงงานนำทาง = research and development of industrial waste utilization technology in pilot plant / Sawaeng Gerdpratoom ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Anuwattana, Rewadee | Gerdpratoom, Sawaeng | Leelakajohnjit, Boonchu | Mongcontalang, Boonturun | Natpinit, Patthanant | Patinaca, Napaporn | Pimpinij, Anan | Ploypattarapinyo, Preecha | Suppinunt, Tawee | Tantuan, Pawanee | Uthaiteeranan, Napatsawan | Uthaiteeranan, Onnatcha | เกิดประทุม, แสวง | ตาลเถื่อน, ภาวณี | นาถพินิจ, พัทธนันท์ | ปฏินาค, นภาพร | ปรีชา พลอยภัทรภิญโญ | อนันต์ พิมพินิจ | บุญเตือน มงคลแถลง | บุญชู ลีลาขจรจิต | ทวี สัปปินันท์ | เรวดี อนุวัฒนา | นภัสวรรณ อุทัยธีรนันท์ | อรณัชชาย์ อุทัยธีรนันท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-08, Sub proj. no. 2 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 35 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: วิจัยและพัฒนาการผลิตซีโอไลต์จากของเสียอุตสาหกรรมในระดับโรงงานนำทางหัวเรื่อง: Waste utilization | ซีโอไลต์ | องเสียอุตสาหกรรมสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: This study is aimed to develop industrial waste utilization technology. Foundry slag was used in this study for synthesizing zeolite (A type) in a pilot plant scale (approximated capacity 20-50 kgs/day), to collect the foundamental data from the lab scale. The starting raw materials were in the form of aluminosilicate obtained from fusing the slag with NaOH and Al(OH)3 in a ratio of 1:3:1 by weight at 550oC for 1 hour as the zeolite 4A precursor and was activated by 3M NaOH solution in a closed system at 105 oC for 3 hours. Decreasing of the product import load and enhancing of high value added to the industrial waste is expected to gain.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเทคโนโลยีในการแปรรูปของเสียอุตสาหกรรม เช่น ตะกรันจากโรงงานหล่อหลอม (Slag) ประเภทเตาคิวโปลา พัฒนาสังเคราะห์เป็นสารจำพวกซีโอไลต์ชนิด A ระดับโรงงานนำทาง, โดยนำสภาวะที่ได้จากโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตซีโอไลต์จากกากของเสียอุตสาหกรรมในระดับห้องปฏิบัติการขยายผลการศึกษาเป็นระดับโรงงานนำทาง (ขนาดประมาณ 20-50 กิโลกรัมต่อวัน) เพื่อถ่ายทอดสู่เชิงพาณิชย์. โดยผลการศึกษาระดับห้องปฏิบัติการ พบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตซีโอไลต์ชนิด A จากตะกรันเหล็ก โดยการใช้วัตถุดิบเริ่มต้นจากการหลอมด้วยตะกรันเหล็กต่อโซเดียมไฮดรอกไซด์ต่ออะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ในอัตราส่วนโดยน้ำหนัก 1:3:1 ที่อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา 120 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมง, ให้ประสิทธิภาพในการผลิตซีโอไลต์ชนิด A สูงสุด และสามารถพัฒนาการผลิตซีโอไลต์จากกากของเสียอุตสาหกรรมสู่เชิงพาณิชย์ในระดับโรงงานนำทาง เพื่อลดการนำเข้า และเพิ่มมูลค่าของของเสียอุตสาหกรรมเหล่านี้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
Available 2019-07-02 1 RP2017/1703
General Book
Available 2019-07-02 2 RP2017/1703-1

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300