การพัฒนาเทคโนโลยีการกำจัดเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้ = development of quarantine disinfestation for cotton thrips of orchid flower for export / Anawat Suwanagul ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Chanapan, Supavadee | Deewatthanawong, Rujira | Kongchinda, Papitchaya | Suwanagul, Anawat | Tontiworachai, Borworn | ปพิชญา กองจินดา | สุภาวดี ชนะพาล | รุจิรา ดีวัฒนวงศ์ | บวร ตันติวรชัย | อนวัช สุวรรณกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 54-04, Sub proj. no. 3 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 32 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเทคโนโลยีการกำจัดเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้หัวเรื่อง: Cotton thrips | เพลี้ยไฟ | เพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้ | แมลงศัตรูพืช | กล้วยไม้สารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The study aimed to develop an alternative to methyl bromide fumigation including ethyl formate at 0, 25, 50, 75 to 100 g/m3 for 1 hour, methyl formate at 0, 25, 50 to 100 g/m3 for 2 hours, acetaldehyde at 0, 0.05, 0.1 to 0.2% for 2 hours and aluminium phosphide at 0, 60, 120 to 120 g/m2 for 2 hours and at 0, 1, 2, 4, 8, 15 to 30 g/m3 for 1 hour were used to fumigate Dendrobium 'Bom17' fluorescence in an air-tight container. After the end of each fumigation period, phytotoxicity indicated by mottling of un-opened flower buds and petals and browning of pollen caps were observed on flowers treated with ethyl formate and methyl formate, acetaldehyde and aluminium phosphide at concentration 60 to 240 g/m3 . The severity of the phytotoxic symptom as indicated by the percentage of damaged flower is increased with higher fumigant concentration. The affected flowers are considered commercially valualess. The lower recommendation rate at 4 to 30 g/m3 of aluminium phosphide for 1 hour had the potential to be used as an alternative to methyl bromide fumigation for thrips disinfestation. At this range of concentration, a 100% mortality of 2nd instar larvae were achieved while no phytotoxic symptom on flowers were observed. สาระสังเขป: จากการทดลองใช้สารรมชนิดต่างๆ ได้แก่ สารเอทิลฟอร์เมตที่อัตรา 0, 25, 50, 75 ถึง 100 กรัม/ลูกบาศก์เมตร ที่ระยะเวลาการรม 1 ชั่วโมง สารเมทิลฟอร์เมตที่อัตรา 0, 25, 50 ถึง 100 กรัม/ลูกบาศก์เมตร ที่ระยะเวลาการรม 2 ชั่วโมง สารแอซีทัลดีไฮด์ที่อัตรา 0, 0.05, 0.1 ถึง 0.2 เปอร์เซ็นต์ ที่ระยะเวลาการรม 2 ชั่วโมง และสารอะลูมิเนียมฟอสไฟด์ที่อัตรา 0, 60, 120, ถึง 120 กรัม/ลูกบาศก์-เมตร ที่ระยะเวลาการรม 2 ชั่วโมง และที่อัตรา 0, 1, 2, 4, 8, 15, ถึง 30 กรัม/ลูกบาศก์เมตร ที่ระยะเวลาการรม 1 ชั่วโมง, เพื่อทดแทนสารเมทิลโบรไมด์ในการกำจัดเพลี้ยไฟฝ้ายแมลงศัตรูกล้วยไม้ที่ติดมากับดอกกล้วยไม้หลังการเก็บเกี่ยว โดยใช้กล้วยไม้สกุลหวาย Dendrobium 'Bom17' เป็นตัวทดสอบในภาชนะปิด พบว่าสารเอทิลฟอร์เมต, เมทิลฟอร์เมต, แอซีทัลดีไฮด์และอะลูมิเนียมฟอสไฟด์ ในช่วงอัตรา 60 ถึง 240 กรัม/ลูกบาศก์เมตร, ก่อให้เกิดลักษณะอาการผิดปกติ (phytotoxic) กับดอกกล้วยไม้ โดยดอกกล้วยไม้ที่ผ่านการรมด้วยสารเคมีจะแสดงอาการด่างที่กลีบ, ดอก, ดอกตูม หรือทำให้อับละอองเกสรเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ซึ่งทำให้ดอกกล้วยไม้สูญเสียคุณภาพโดยสิ้นเชิง ลักษณะอาการผิดปกติจะเพิ่มมากขึ้นตามอัตราการใช้สูงขึ้น. เมื่อทำการลดอัตราการใช้ลงต่ำกว่าอัตราแนะนำ พบว่าอะลูมิเนียมฟอสไฟด์ที่อัตราตั้งแต่ 4 ถึง 30 กรัม/ลูกบาศก์เมตร ที่ระยะเวลาในการรม 1 ชั่วโมง มีแนวโน้มที่สามารถนำมาใช้ทดแทนสารเมทิล-โบรไมด์ ในการรมฆ่าเพลี้ยไฟฝ้ายที่ติดมากับดอกกล้วยไม้สกุลหวาย Dendrobium 'Bom17' ได้ โดยสามารถทำให้ตัวอ่อนเพลี้ยไฟฝ้ายระยะที่ 2 ตายทั้งหมด โดยที่ไม่พบลักษณะอาการผิดปกติใดๆ กับดอกกล้วยไม้ที่นำมาทดสอบ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
Available 2019-07-02 1 RP2016/1704
General Book
Available 2019-07-02 2 RP2016/1704-1

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300