การคัดเลือกสายพันธุ์มะขามป้อมที่เหมาะสมในการผลิต ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง และยาสมุนไพร = selection of indian gooseberry varieties for the production of health foods cosmeceuticals and personal hygiene products / Cholticha Niwaspragrit ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Cholticha Niwaspragrit | Maitree Munyanont | Montree Keawdoung | Piyanee Ratanachamnong | Prayut Kawilaves | Samai Sewakhonburi | Warin Dangkong | ไมตรี มัณยานนท์ | ชลธิชา นิวาสประกฤติ | ประยุทธ กาวิละเวส | ปิยานี รัตนชำนอง | มนตรี แก้วดวง | วารินทร์ ดังก้อง | สมัย เสวครบุรี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-01, Sub proj. no. 1 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 64 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การคัดเลือกสายพันธุ์มะขามป้อมที่เหมาะสมในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง และยาสมุนไพรหัวเรื่อง: Cosmeceuticals | Indian Gooseberry | เครื่องสำอาง | มะขามป้อมสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Indian gooseberry is an indigenous fruit crop growing in all region of Thailand. The fruits have antioxidant properties and are used as food and medicinal herb. The objectives of this study was to examined physical properties of the fruits, tannin contents, and antioxidant properties of the selected Indian gooseberry clones from Kanchanaburi, Saraburi and Nakhon Ratchasima. Results of the study showed significant different (p<0.05) in all physical properties of the fruits. Fruit diameter, fruit height, fresh weight, flesh weight percentage and flesh dry matter percentage varied from 2.46+0.2-3.38+0.1 cm., 2.43+0.1-3.03+0.1 cm., 8.47+1.1-20.67+1.8 gm., 85.48+1.8-92.38+1.0%, and 13.21+2.6-17.14+1.2 %, respectively. KR2, KR3 and PK6 were the selected clones that show highest fruit fresh weight. The results also showed revealed the significant different (p<0.05) of tannin contents and antioxidant properties between all Indian gooseberry. Tannin contents in the fruits varied from 192.8+8.2-445.9+8.4 mg/gDW and antioxidant properties (IC50) were 65.21+4.03-84.72+2.29%. PK3, PK5 and PK12 were the clones that showed the highest tannin contents and antioxidant properties. In conclusion, the antioxidant properties of Indian gooseberry varied in accordance with tannin contents of the fruits.สาระสังเขป: มะขามป้อมเป็นไม้ผลพื้นเมืองที่พบในทุกภาคของประเทศไทยนิยมนำมาเป็นอาหารและยาสมุนไพร เนื่องจากมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ, ปริมาณสารแทนนิน, ปริมาณพอลิฟีนอลและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลมะขามป้อม เพื่อใช้ในการคัดเลือกสายต้นที่เหมาะสมจากจังหวัดกาญจนบุรี, สระบุรี และนครราชสีมา. ผลการศึกษาลักษณะทางกายภาพของผลมะขามป้อมพบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งในทุกลักษณะที่ทำการศึกษา (P<0.05) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง, ความสูงผล, น้ำหนักสดต่อผล, ร้อยละน้ำหนักสดเนื้อ และร้อยละน้ำหนักแห้งเนื้ออยู่ระหว่าง 2.46+0.2-3.52+0.05 เซนติเมตร, 2.25+0.12-3.03+0.06 เซนติเมตร, 8.02+1.02-22.25+1.26 กรัม, 83.81+1.60-92.39+0.67 และ 13.32+0.58-17.81+1.32 ตามลำดับ. นอกจากนี้ยังพบว่า สายต้น KR2, KR3 และ PK6 มีน้ำหนักสดต่อผลสูงที่สุด ส่วนปริมาณสารแทนนินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสายต้นทุกสายต้นมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (P<0.05) โดยปริมาณแทนนินมีค่าระหว่าง 145.4+9.6 - 445.9+8.4 มิลลิกรัมแทนนินต่อกรัมน้ำหนักแห้ง และร้อยละของฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ (IC50) มีค่าระหว่าง 1.18-0.04 โดยสายต้น PK5, PK3 และ PK12 มีปริมาณแทนนินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับสายต้นพันธุ์อื่นๆ. ดังนั้น จึงสามารถสรุปได้ว่าฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลมะขามป้อมจะแปรผันตามปริมาณของสารแทนนิน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300