การวิจัยและพัฒนาสารปรุงแต่งกลิ่นรสจากธรรมชาติ = research and development of natural flavor / Narisa Lehduwi...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Asa, Narongdet | Eiamwat, Jirawat | Kamprungdet, Sukit | Lehduwi, Narisa | Meesat, Rewadee | Piemvaree, Supatra | Rerk-am, Ubo | Sartpech, Chitta | Sithisam-ang, Damrongchai | Suttivattanavet, Wannee | สุพัตรา เปี่ยมวารี | นริศา เหละดุหวิ | เรวดี มีสัตย์ | อุบล ฤกษ์อ่ำ | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | ดำรงชัย สิทธิสำอางค์ | สุกิจ, ขำเปรื่องเดช | วรรณี สุทธิวัฒนเวช | ณรงค์เดช อาษา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 51-01, Sub proj. no. 2 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 63p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาสารปรุงแต่งกลิ่นรสจากธรรมชาติหัวเรื่อง: Aroma compounds | สารให้กลิ่น | สารปรุงแต่งกลิ่นรสจากธรรมชาติสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Aroma compounds studied in this research were orange flavor, banana flavor, pandan leave flavor and long gong flavor. Orange flavor was extracted by means of a supercritical carbon dioxide extraction at 30°C, 80 bar, under cold press extraction. The major compound of the four types of oranges, namely, Honeysuckle, Tangerine, Shogun and Number one was limonene with extraction percentage ranged from 70 to 95 while other significant aroma compounds were b-myrcene, b-pinene and d-elemenene. d-elemenene was found most in tangerine. In the extraction of Honeysuckle, Tangerine and Shogun with supercritical carbon dioxide, the percentages of output per unit weight of dried orange peel skin were 7.3, 9.43 and 3.02, respectively while the extraction of Honeysuckle, Number one and Shogun with cold pressing, the percentages of output per unit weight of wet orange peel skin were 1.98, 0.96 and 0.69, respectively. The extracted orange flavors under carbon dioxide extraction and cold extraction mixed with the drinking product had a shelf-life of 6 months and 4 months, respectively.สาระสังเขป: สารให้กลิ่นที่ทำการศึกษาในงานวิจัยนี้ คือ กลิ่นส้ม, กลิ่นลองกอง, กลิ่นกล้วย และกลิ่นใบเตย. กลิ่นส้มได้จากการสกัดด้วยวิธีคาร์บอนไดออกไซด์ที่สภาวะเหนือวิกฤติที่สภาวะความดัน 80 บาร์ อุณหภูมิ 30°ซ. และวิธีการบีบเย็น. สารให้กลิ่นที่สำคัญของส้มทั้งสี่ชนิด คือ ส้มสายน้ำผึ้ง, ส้มโชกุน, ส้มเขียวหวาน, และส้มนัมเบอร์วัน, คือ limonene, โดยมีปริมาณ 70-95% ของสารประกอบให้กลิ่นทั้งหมด. สารประกอบให้กลิ่นในลำดับที่ถัดมา คือ b-myrcene, b-pinene, d-elemenene. โดย d-elemenene พบมากที่สุดในส้มเขียวหวาน ในการสกัดส้มสายน้ำผึ้ง, ส้มเขียวหวาน และส้มโชกุน. ด้วยวิธีคาร์บอนไดออกไซด์ที่สภาวะเหนือวิกฤติ มีเปอร์เซ็นต์ของผลผลิตต่อน้ำหนักแห้งของผิวเปลือกส้ม 7.3, 9.43 และ 3.02 ตามลำดับ. ในขณะที่ส้มสายน้ำผึ้ง, ส้มนัมเบอร์วัน และส้มโชกุน เมื่อสกัดด้วยวิธีการบีบเย็นมีเปอร์เซ็นต์ผลผลิตต่อน้ำหนักเปียกของผิวเปลือกส้ม 1.98, 0.96 และ 0.69 ตามลำดับ. กลิ่นส้มที่สกัดได้ เมื่อผสมเป็นผลิตภัณฑ์กลิ่นสำหรับใช้ผสมในเครื่องดื่มเก็บรักษาในสภาวะเป็นของเหลวมีอายุการเก็บ 6 เดือน เมื่อเป็นสารสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือสภาวะวิกฤติ มีอายุ 4 เดือน เมื่อสกัดด้วยวิธีการบีบเย็น
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300