การวิจัยและพัฒนาวิธีการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกชีวภาพในสภาวะจำลองธรรมชาติของประเทศไทย = research and development on biodegradability of biodegradable plastic in natural-simulation conditions of Thailand / Anchana Pattanasupong...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anannukul, Phaisak | Artjariyasripong, Suparp | Homhual, Wipa | Kengkarj, Patcharin | Kiratitavit, Weeradech | Pattanasupong, Anchana | พัชรินทร์ เก่งกาจ | วีรเดช กีรติธนวิทย์ | อัญชนา พัฒนสุพงษ์ | หอมหวล, วิภา | ไพศักดิ์ อนันต์นุกูล | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 51-05, Sub. Proj. no. 1 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 73 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาวิธีการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกชีวภาพในสภาวะจำลองธรรมชาติของประเทศไทยหัวเรื่อง: Bacillus spp | Biodegradable plastics | Biodegradation | Bioplastics | Soil microbiologyสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Soil microorganisms was used to examine biodegradation efficiency of 14 bioplastic or biodegradable plastic samples from 5 manufacturing companies in Thailand. Soils collected from land-fill areas in 6 provinces representing each region including Chiang Mai (North), Phitsanulok (lower North), Khon Kaen (Northest, Nakhon Pathom (Central), Chonburi (East), and Songkhla (South) provinces were used to bury plastic samples in various depths for 18 months under natural conditions. The results showed that 7-10 tested samples were completely degraded after burying in soils from Khon Kaen, Phitsanulok, and Songkla provinces at the depths of 5-40 cm. within 18 months. While no changes were found in commercial plastic, Polyethylene. The properties of soils in which degradation occurred well were pH values at 7-8, 1-5% of organic matter, nutrients contents (N, P, and K) between 0.1-1.0%, and microbes (fungi, yeast, and bacteria) 105-107 cfu/gm. Examining degradation of the tested samples in both steriled and non-steriled materials confirmed the biodegradation process. From determination at molecular biology level, the major microorganisms involving degradation were classified into Bacillus spp. This results were correlated with laboratory testing of biodegradation in controlled conditions which physical properties such as thickness, resistance to tension, and elasticity of the tested samples were altered. Additionally, changes in chemical structures of well-degraded bioplastic products were also found. The results from biodegradation tests of bioplastic products and materials from research projects in compost compared to positive and negative references by determining degradation activity in laboratory using modified Static Incubation-Titrimetric Determination suggested that basic method usable for examining and evaluating the rate of biodegradation of bioplastic products under natural conditions was appropriated to be used. Furthermore, the studies on primary testing of toxicity of residues after degradation on a tested animal, Daphnia magna, and a tested plant, Brassica chinensis, were also performed.สาระสังเขป: การศึกษาประสิทธิภาพการย่อยสลายผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ และผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ประเภทพลาสติก 14 ตัวอย่างจากบริษัทผู้ผลิต 5 แห่ง ในประเทศไทย เทียบกับพลาสติกทางการค้าชนิด polyethylene โดยกลุ่มจุลินทรีย์ในตัวอย่างดินจากพื้นที่ 6 จังหวัด ที่เป็นตัวแทนแต่ละ ภูมิภาคของไทย ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ (ภาคเหนือตอนบน), พิษณุโลก (ภาคเหนือตอนล่าง), ขอนแก่น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), นครปฐม (ภาคกลาง), ชลบุรี (ภาคตะวันออก) และสงขลา (ภาคใต้) โดยการฝังกลบตัวอย่างพลาสติกทดสอบในดินที่ความลึกระดับต่างๆ ระดับแปลงทดลองในสภาวะธรรมชาติ พบว่า ตัวอย่างทดสอบจำนวน 7-10 ตัวอย่าง สลายตัวได้อย่างสมบูรณ์ หลังฝังกลบในตัวอย่างดินจากจังหวัดขอนแก่น พิษณุโลก และสงขลา ที่ระดับความลึก 5-40 เซนติเมตร ภายในเวลา 18 เดือน ในขณะที่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของพลาสติกชนิด polyethylene. ทั้งนี้สมบัติของดินที่เหมาะสมต่อการสลายตัวของตัวอย่างทดสอบ คือ ค่าความเป็นกรด-เบส (pH) 7-8 ปริมาณอินทรียวัตถุร้อยละ 1-5 ปริมาณธาตุอาหาร (ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ร้อยละ 0.1- 1.0 และปริมาณจุลินทรีย์ (รา, ยีสต์ และแบคทีเรีย) 105-107 โคโลนีต่อกรัม จากการศึกษาการสลายตัวของตัวอย่างทดสอบในวัสดุที่ผ่านการฆ่าเชื้อ และไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อสามารถยืนยันถึงกระบวนการสลายตัวได้ทางชีวภาพ ทั้งนี้จากการตรวจสอบในระดับชีววิทยาโมโลกุล พบว่า จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ที่มีบทบาทในการย่อยสลายจัดอยู่ในกลุ่ม Bacillus spp. ผลการทดสอบในสภาวะธรรมชาติยังสอดคล้องกับผลการฝังกลบตัวอย่างพลาสติกในระดับห้องปฏิบัติการภายใต้สภาวะควบคุมของ สมบัติทางกายภาพทางด้านความหนา, การทนแรงดึง และความยืดตัวของตัวอย่างทดสอบที่เปลี่ยนแปลงไป. นอกจากนี้ ยังพบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีในบางตำแหน่งของตัวอย่างทดสอบที่สลายตัวได้. จากผลการศึกษาการย่อยสลายตัวอย่างทดสอบพลาสติกชีวภาพและวัสดุพลาสติกชีวภาพจากโครงการวิจัยในปุ๋ยหมักเทียบกับตัวควบคุมเชิงบวกและตัวควบคุมเชิงลบ โดยการตรวจวัดกิจกรรมการย่อยสลายในระดับห้องปฏิบัติการด้วยวิธีการที่ดัดแปลงจากวิธี Static Incubation- Titrimetric Determination พบว่า เป็นวิธีการเบื้องต้นในการตรวจสอบและประเมินอัตราเร็วในการสลายตัวของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพหลังการใช้งานในสภาวะธรรมชาติได้. นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาวิธีการเบื้องต้นสำหรับทดสอบค่าความเป็นพิษของสารตกค้างหลังกระบวนการย่อยสลายที่มีต่อสัตว์ทดสอบ คือ Daphnia magna และพืชทดสอบ คือ Brassica chinensis ด้วย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number Unit สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 1 RP2016/1640
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 2 RP2016/1640-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลเพื่อรองรับระบบการตรวจสอบย้อนกลับสินค้าผักและผลไม้สดเพื่อการส่งออก = Development of database management for fresh fruit and vegetable traceability system for export / การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลเพื่อรองรับระบบการตรวจสอบย้อนกลับสินค้าผักและผลไม้สดเพื่อการส่งออก = Development of database management for fresh fruit and vegetable traceability system for export / การวิจัยและพัฒนาวิธีการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกชีวภาพในสภาวะจำลองธรรมชาติของประเทศไทย = research and development on biodegradability of biodegradable plastic in natural-simulation conditions of Thailand / การวิจัยและพัฒนาวิธีการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกชีวภาพในสภาวะจำลองธรรมชาติของประเทศไทย = research and development on biodegradability of biodegradable plastic in natural-simulation conditions of Thailand / การใช้ประโยชน์จากน้ำมันไพลในแต่ละพันธุ์ที่ช่วงอายุการผลิตต่างๆ กัน = contents in different phlai varieties at various stages of growth and under different conditions of cultivations / การใช้ประโยชน์จากน้ำมันไพลในแต่ละพันธุ์ที่ช่วงอายุการผลิตต่างๆ กัน = contents in different phlai varieties at various stages of growth and under different conditions of cultivations / การวิจัยและพัฒนาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากพืชเศรษฐกิจของไทย = research and development of oligosaccharide prebiotic production from economic crops of Thailand /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300