การใช้ประโยชน์ของน้ำมันปาล์มแปรรูป. การพัฒนาเทคโนโลยีการแยกส่วนน้ำมันปาล์ม = diversification of palm oil. technology development of palm oil fractionation / Sumalai Srikumlaithong...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Asa, Somnuk | Jenvanitpanjakul, Peesamai | Munsakul, Supatra | Srikumlaithong, Sumalai | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | สุภัทรา มั่นสกุล | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | สมนึก อาษา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Fats & Oils Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 29-15 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1986 รายละเอียดตัวเล่ม: 33 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Technology development of palm oil fractionation | การใช้ประโยชน์ของน้ำมันปาล์มแปรรูป | การพัฒนาเทคโนโลยีการแยกส่วนน้ำมันปาล์มหัวเรื่อง: Fractionation | Oils and fats | Olein | Palm oil | Stearinสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: At present there are 12 fractiories in Thailand producing palm olein from either crude palm oil or crude palm olein at the annula capacity of 256,000 tons of raw materials. The palm oil processing industry is based on two basic technology groups which are refining by physical method and fractionation by both dry and detergent methods. The industry faces problems in insufficient crude palm oil and its high cost including over supply of palm stearin produced.สาระสังเขป: From the experiments on the fractionation of both crude and refined palm oil by slow cooling to 18 degree celsius and filtering through filter press, the average yields of palm olein and palm stearin obtained were 61 percent and 39 percent respectively. The properties of the resulting products complied with the oil produced in the country and in Malaysia. Palm oil can be consumed as cooking oil. Apart from being utilized for margarine and shortening manufacture as well as soap making, palm stearin should be theoretically used for production of confectionery fats, oleochemicals, candles and resins.สาระสังเขป: Technology of palm oil fractionation with filter press in simple and investment is low as compared with drum filter available in the large factories. Therefore, it is a high potential to establish a plant especially at small-scale industry. Authors.สาระสังเขป: เทคโนโลยีการแยกชิ้นส่วนน้ำมันปาล์มด้วย filter press ไม่ยุ่งยากและเงินลงทุนต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับ drum filter ที่ใช้ในโรงงานขนาดใหญ่, ดังนั้นจึงมีศักยถาพสูงในการลงทุน โดยเฉพาะในระดับอุตสาหกรรมขนาดย่อม. - ผู้แต่ง -สาระสังเขป: จากการทดลองแยกส่วนน้ำมันปาล์มดิบและบริสุทธิ์โดยการทำให้เย็นถึง 18 ซ. อย่างช้า ๆ แล้วกรองด้วย filter press ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันปาล์มโอลีนและปาล์มสเตียรีนเฉลี่ยร้อยละ 61 และ 39 ตามลำดับ. คุณสมบัติของน้ำมันดังกล่าว เช่นเดียวกับที่ผลิตได้ในประเทศ และในประเทศมาเลเซีย. น้ำมันปาล์มโอลีนใช้เป็นน้ำมันพืชบริโภค, ส่วนปาล์มสเตียรีนนอกจากใช้ในอุตสาหกรรมเนยเทียม, ไขมันผสม และสบู่แล้ว, ยังอาจใช้เพื่อผลิต confoctional fats, สารเคมี, เทียนไข และเรซีนอีกด้วย.สาระสังเขป: อุตสาหกรรมผลิตน้ำมันปาล์มโอลีนในประเทศไทย ประกอบด้วยจำนวนโรงงาน 12 โรง มีกำลังผลิตในปี 2529 รวมทั้งสิ้น 256,000 ตันวัตถุดิบต่อปี, ส่วนใหญ่ทำการผลิตน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ด้วยวิธีทางฟิสิกส์ และแยกส่วนด้วยวิธี dry fractionation และ detergent fractionation. ปัญหาของอุตสาหกรรมประเภทนี้ได้แก่ ปริมาณของวัตถุดิบมีไม่เพียงพอและราคาสูง, นอกจากนี้ส่วนของปาล์มสเดียรีนที่ผลิตได้มีปริมาณเกินความต้องการภายในประเทศ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1986/744
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1986/744-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300