อนุสิทธิบัตรเรื่อง:ระบบการปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงปลาในระบบปิด Aquaponic (2557)= สิทธิบัตรเลขที่:1501006232 Prathan Potisawat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Potisawat, Prathan | Potisawat, Ratsamee | Sapchit, Thanu | Singhtho, Siritham | Sinsawat, Sayam | Thamaphan, Praiwan | Visutthipat, Rachain | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | รัศมี โพธิสวัสดิ์ | ไพรวัลย์ ถามะพันธ์ | ธนู ทรัพย์ชิต | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | ศิริธรรม สิงห์โต | สยาม สินสวัสดิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-08, Sub. Proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2015 รายละเอียดตัวเล่ม: 122 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจากใบและยอดอ้อย | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:เทคโนโลยีใหม่สำหรับกระบวนการผลิตเอทานอลจากใบและยอดอ้อย ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:ใช้เป็นข้อมูล/สร้างโรงงานและนำเทคโนโลยีไปผลิตเชิงพาณิชย์ (กระทรวงพลังงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ประกอบการภาคเอกชน เช่น โรงงานผลิตเอทานอล , บ. ปตท. ภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร)หัวเรื่อง: Aquaponics | Broccoli | Cabbage | Eggplant | Parsley | Vegetablesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: This research focused on the study of an aquaponics method in a closed system applied on vegetables which include four types of salad leaves: Chinese cabbage, Chinese broccoli, parsley and fruiting vegetables (eggplant New var.). The results showed that the aquaponics method using water from an aquaculture system and half-dosed nutrient solution had proved superiority in three distinct dimensions when compared to conventional water culture. First, growth in quantity and size of the vegetables was larger in all treatments. Secondly, quality of the vegetables under the aquaponics method was better in terms of sensory attributes, nutritive values and chemical constituents (fiber content, anthocyaninans, chlorophyll and xanthophyll). In addition, production cost was lower since this method consumed lower chemical fertilizers by 25-50%. Apart from an application to conventional water culture, the aquaponics method can be adapted to substrate culture. The study on fruiting vegetables demonstrated that by using water and excretions from an aquaculture system together with 25-50% of nutrient solution fruiting, vegetables yield higher productivity in every experiment. Such development could be seen around the second and fourth week after implementation. Furthermore, it was found that vegetable growth and development was inferior when water from and aquaculture system was solely utilised when compared to aquaponics application (mixture of water from an aquaculture system and nutrient solution). The findings proved that nitrate, chemical residue and E.coli met the required standards. Moreover, based on the survey, consumers prefer vegetables under the aquaponics method due to their higher quality.สาระสังเขป: จากผลการศึกษาเรื่อง การวิจัยและพัฒนาการผลิตผักเพื่อสุขภาพ โดยวิธีการปลูกพืชแบบไร้ดินร่วมกับการเลี้ยงปลาในระบบปิด (Aquaponics) พืชที่ใช้ปลูกในการทดลอง เช่น ผักสลัด 4 ชนิด ผักกวางตุ้ง, ผักคะน้า, ผักชี และผักกินผล (มะเขือลูกผสม) การเจริญเติบโตทางด้านปริมาณของพืช เช่น ความสูง, ความกว้าง, จำนวนใบของพืชที่ใช้ทดลองในทุกๆ ทรีตเมนต์ที่ใช้น้ำจากการเลี้ยงปลาร่วมกับสารละลายธาตุอาหารครึ่งอัตราในระบบการปลูกพืชแบบ Aquaponic ผลการทดลองที่ได้ พืชปลูกมีอัตราการเจริญเติบโตดีกว่าการใช้สารละลายธาตุอาหารเพียงอย่างเดียว ซึ่งนอกจากจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางด้านปริมาณของพืชแล้วยังส่งผลต่อคุณภาพของพืชที่เพิ่มขึ้นด้วย เช่น น้ำหนักต้น, น้ำหนักผล ปริมาณวิตามิน และปริมาณเยื่อใยที่วิเคราะห์ได้ รวมถึงสารสีที่ได้ในพืชผักให้สี เช่น แอนโทไซยานิน, คลอโรฟิลล์ และแซนโทฟิลล์การทดลองปลูกพืชในระบบนี้สามารถลดอัตราการใช้ ปุ๋ยเคมีลงได้ 25-50 เปอร์เซ็นต์ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตลดลง การปลูกพืชในระบบ Aquaponic นอกจากจะเป็นการปลูกในน้ำสารละลายธาตุอาหารเพียงอย่างเดียวแล้วยังทดสอบในระบบการปลูกพืชบนวัสดุไม่ใช้ดิน เช่น ทราย, แกลบ, ขุยมะพร้าว, หินภูเขาไฟ และพีทมอส เป็นต้น. จากการทดลองในระบบนี้เรียกว่า การปลูกพืชในระบบ Substrate culture พืชที่ปลูกในระบบนี้เป็นพวกพืชผักกินผล (มะเขือลูกผสม) โดยใช้ปุ๋ยจากน้ำปลาและตะกอนสิ่งขับถ่ายปลาร่วมกับสารละลายธาตุอาหารพืช 25-50 เปอร์เซ็นต์ ส่งผลให้มีอัตราการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตมากกว่าในทุกๆ ทรีตเมนต์ โดยการเจริญเติบโตของพืชจะเริ่มพัฒนาในสัปดาห์ที่ 2-4 รวมทั้งปริมาณการให้ผลผลิต ในส่วนของพืชที่ปลูกในระบบ Aquaponic การใช้น้ำจากการเลี้ยงปลาเพียงอย่างเดียวส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชช้ากว่าการใช้น้ำจากการเลี้ยงปลาร่วมกับสารละลายธาตุอาหาร ส่วนผลการวิเคราะห์ปริมาณไนเทรต และสารพิษตกค้างในพืช เช่น ปรอท, แคดเมียม และตะกั่ว พร้อมกับวิเคราะห์หาปริมาณเชื้อ E. coli พบว่า ไม่เกินระดับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และจากการทดสอบความพึงพอใจของผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคนิยมบริโภคผักพืชปลูกในระบบ Aquaponic เนื่องจากมีคุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการที่เพิ่มขึ้น
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-07-01 IP00039
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2015/1580-1
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2015/1580-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300