การวิจัยและพัฒนาโพรไบโอติกและพรีไบโอติกสำหรับโคนม = research and development on probiotic and prebiotic for dairy cow / Bundit Fungsin...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Buaban, Wannaluk | Chatanon, Lawan | Fungsin, Bundit | Gerdpratum, Smarn | Poonsiri, Chantara | Saman, Premsuda | Srichuai, Aphinan | สมาน เกิดประทุม | ลาวัลย์ ชตานนท์ | วรรณลักษณ์ บัวบาน | ฝั่งสินธุ์, บันฑิต | อภินันท์ ศรีช่วย | เปรมสุดา สมาน | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-02, Sub Proj. no. 3 ; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 60 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาโพรไบโอติกและพรีไบโอติกสำหรับโคนมหัวเรื่อง: Cows | Lactobacillus salivarius | Microorganisms | Prebiotics | Probioticsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: Two hundred and fifty-seven bacterial strains were isolated from 41 cow dung samples for screening on purpose of potential probiotic strains. Four strains of Lactic acid bacteria, 38-PE3-D2-1, 38-PE3-D2-3, 39-PE3-D2-5 and 39-PE3-D2-6 showed the potency of probiotic strains, which were identified as Lactobacillus salivarius by using molecular technique of ribosomal RNA sequencing analysis. The study on the formulation of production medium for Lactobacillus salivarius, sucrose had performed as the best carbon sources among 3 kinds of sugar namely, glucose, lactose and sucrose, meanwhile yeast extract had performed as the best nitrogen sources among peptone, yeast extract and ammonium sulfate. The optimal amount of sucrose and yeast extract in the production medium were, 2.0% and 0.5% (w/v), respectively. The study on ability of bacterial survival in gastrointestinal-like circumstance, Lactobacillus salivarius had ability to survive at the 1.5% (w/v) bile salt and the lowest pH of 2.0. The bacterial strains showed a very good performance on colonization ability to the animal intestinal epithelial cell by value of 79.47%. The study on cultivation of bacteria in 5 liter fermenter, the compensate production medium showed good result similar to the commercial medium at the level of cell at 109 cfu/ml. The production condition for cultivation of bacteria in the fermenter was temperature at 37 oC, agitation of 50 rpm and non-control of pH. Aspergillus oryzae TISTR 3256 was selected as a potential fungal strain for production of fructooligosaccharide (FOS) as prebiotic. The optimum condition for conversion of sucrose to FOS by crude of fungal enzyme is reaction at 50 oC for 2 hours by using of 80% (w/v) sucrose concentration. The storage test of the liquid form probiotic product the storage at room temperature can maintain the bacterial cell less than 1 months meanwhile keeping at cool temperature (3-5 oC) can maintain the bacterial cell for 2 months. The storage test of the liquid form prebiotic product the storage at room temperature and cool temperature (3-5 oC) showed the similar of good result in the both condition that can maintain the product more that 3 months. The field trial of probiotic and prebiotic for feeding of dairy cow, the combination using of both probiotic and prebiotic experiment gave the highest value of average of milk gain per day meanwhile probiotic and control experiment showed the similar result. The nutrition values of fresh milk among 3 experiments, fresh milk of cow feeding probiotic and prebiotic experiment showed the highest values of protein content and 15 amino acids. The investigation of coliform bacteria from cow dung of among 3 groups showed the similar values of MPN number of coliform.สาระสังเขป: การแยกจุลินทรีย์จากแหล่งตัวอย่างมูลโคจำนวน 41 ตัวอย่าง, สามารถแยกจุลินทรีย์ได้ทั้งสิ้น 257 สายพันธุ์, การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นโพรไบโอติกโคนมได้แก่แบคทีเรีย กลุ่มแบคทีเรียกรดแลคติก จำนวน 4 สายพันธุ์ 38-PE3-D2-1, 38-PE3-D2-3, 39-PE3-D2-5 และ 39-PE3-D2-6 ซึ่งจัดจำแนกโดยการวิเคราะห์ดีเอ็นเอเป็นสายพันธุ์ Lactobacillus salivarius . ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเจริญของจุลินทรีย์ที่โพรไบโอติกโคนม พบว่า องค์ประกอบในอาหารทดแทนอาหารสำเร็จรูป, แหล่งคาร์บอนจากน้ำตาล 3 ชนิดคือ กลูโคส, ซูโครส และแล็กโทส ที่ใช้ร่วมกับหางนม พบว่า น้ำตาลซูโครสให้ผลการเจริญของจุลินทรีย์ดีที่สุด. ปริมาณที่เหมาะสมของน้ำตาลซูโครสที่ใช้คือร้อยละ 2 (w/v). แหล่งไนโตรเจน 3 ชนิดคือ เปปโตน, ยีสต์สกัด และแอมโมเนียม ซัลเฟต พบว่า ยีสต์สกัด ให้ผลการเจริญของจุลินทรีย์ดีที่สุด, โดยปริมาณที่เหมาะสมคือร้อยละ 0.5 (w/v). การศึกษาคุณสมบัติของจุลินทรีย์ต่อสภาวะที่คล้ายกับในระบบทางเดินอาหาร, จุลินทรีย์ที่ ทนต่อสภาวะที่มีเกลือน้ำดี (Bile salt) พบว่า Lactobacillus salivarius มีความสามารถที่เจริญในเกลือน้ำดีได้สูงถึงร้อยละ 1.5 (w/v) และสามารถที่เจริญในสภาวะเป็นกรดที่มีค่าพีเอชถึง 2-2.5. แบคทีเรียมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะต่อผนังเซลล์ลำไส้ของสัตว์ทดลองได้ดี, โดยมีค่าร้อยละในการยึดเกาะเท่ากับ 79.47. การศึกษาสภาวะการเลี้ยง Lactobacillus salivarius ในถังหมักขนาด 5 ลิตร, การใช้อาหารทดแทนเลี้ยงให้ผลในการเลี้ยงที่ดีใกล้เคียงกับการใช้อาหารสำเร็จรูปโดยมี ปริมาณเซลล์ระดับ 109 เซลล์ต่อมิลลิลิตร. สภาวะการเลี้ยงที่เลือกใช้คือ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส, ความเร็วรอบการกวน 50 รอบต่อนาที โดยมีการควบคุมค่าพีเอช. การคัดเลือกสายพันธุ์ราที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสารพรีไบโอติกฟรักโทโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Fructo-oligosaccharide, FOS) จากสารตั้งต้นคือน้ำตาลทราย พบว่า รา Aspergillus oryzae TISTR 3256 เป็นสายพันธุ์ที่มีศักยภาพ ในการผลิต FOS โดยสภาวะในการผลิตจากเอนไซม์หยาบของราสายพันธุ์นี้คือ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง, ปริมาณความเข้มข้นของน้ำตาลทรายที่เหมาะสมคือร้อยละ 80 (w/v).
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300